Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/61566
Title: Electrode improvement using diamond-like carbon for electrochemical advanced oxidation in diuron degradation
Other Titles: การปรับปรุงขั้วอิเล็กโทรดโดยใช้คาร์บอนคล้ายเพชรสำหรับปฏิกิริยาออกซิเดชันเชิงไฟฟ้าเคมีขั้นสูงในการย่อยสลายสารไดยูรอน
Authors: Nimit Kantiyawong
Advisors: Varong Pavarajarn
Other author: Chulalongkorn University. Faculty of Engineering
Subjects: Chemical reactors
Diuron
Decomposition (Chemistry)
เครื่องปฏิกรณ์เคมี
การเน่าเปื่อย
ไดยูรอน
Issue Date: 2018
Publisher: Chulalongkorn University
Abstract: Diuron is one of the pesticides. Its residual can contaminate natural water resource resulting in environmental and human health problems. Several processes have been used to remove diuron contamination. Nowadays, an electrochemical advanced oxidation process (EAOP) in a microchannel reactor is used to degrade diuron owing to its high efficiency. In this research, the diamond-like carbon (DLC) thin film was used as an electrochemical electrode because it has superior hardness and electrical conductivity. In this research, we have successfully synthesized the DLC thin films using graphite as target material on the surface of 304 stainless steel substrate by the direct current (dc) magnetron sputtering process. It was found that using the DLC thin film electrode caused less corrosion during the reaction when compared to the graphite electrode. The performance of diuron degradation depends on the properties of the thin film electrode, i.e., the sp2-to-sp3 ratio, the C-H bonds, and the C=O bonds. The DLC thin film electrode with the C=O bond led to the highest corrosion, up to 5.96 µg/h. The C-H bond in the DLC thin film improves the electrical conductivity (Rspecific = 0.076 Ω/nm) of electrode leading to high degradation performance, up to 70% within 100 seconds of residence time. Furthermore, each property of the DLC thin film results in different kind of intermediate during diuron decomposition.
Other Abstract: ไดยูรอนเป็นสารกำจัดวัชพืชที่มีการใช้ทางการเกษตรในปริมาณที่มากจึงทำให้เกิดการตกค้างนำไปสู่การปนเปื้อนในแหล่งน้ำซึ่งเป็นปัญหาทางสิ่งแวดล้อมและส่งผลต่อสุขภาพของมนุษย์ โดยกระบวนการที่ใช้ในการกำจัดสารพิษที่ปนเปื้อนในน้ำมีอยู่หลายกระบวนการ ในปัจจุบันกระบวนทางไฟฟ้าเคมีขั้นสูงและเครื่องปฏิกรณ์ขนาดไมโครเมตรได้ถูกใช้ในการย่อยสลายสารไดยูรอนเนื่องจากมีประสิทธิภาพในการย่อยสลายที่สูง ในงานวิจัยนี้ฟิล์มบางคาร์บอนคล้ายเพชรถูกนำมาใช้เป็นขั้วทางไฟฟ้าเคมีเนื่องจากเป็นวัสดุคาร์บอนที่มีความเข็งแรงคงทนและสามารถนำไฟฟ้าได้ วิทยานิพนธ์ฉบับนี้วิทยานิพนธ์ฉบับนี้ประสบความสำเร็จในการสังเคราะห์ฟิล์มบางคาร์บอนคล้ายเพชรจากแกรไฟต์ลงบนพื้นผิวของ 304 สแตนเลสสตีลด้วยกระบวนการดีซีแมกนีตรอนสปัตเตอริง โดยใช้ขั้วไฟฟ้าฟิล์มบางคาร์บอนคล้ายเพชรที่สังเคราะห์ได้นั้นสามารถย่อยสลายสารไดยูรอนได้ด้วยปฏิกิริยาเชิงไฟฟ้าเคมีขั้นสูงในเครื่องปฏิกรณ์ขนาดไมโครเมตรจากการทดลองพบว่าขั้วไฟฟ้าฟิล์มบางคาร์บอนคล้ายเพชรสามารถลดการกัดกร่อนที่เกิดขึ้นระหว่างการทำปฏิกิริยาเมื่อเปรียบเทียบกับขั้วไฟฟ้าแกรไฟต์ โดยความสามารถในการย่อยสลายสารไดยูรอนขึ้นอยู่กับคุณสมบัติของขั้วคาร์บอนคล้ายเพชร อันได้แก่อัตราส่วนระหว่างโครงสร้างพันธะคู่ต่อพันธะเดี่ยวของคาร์บอน อัตราส่วนระหว่างพันธะคาร์บอนกับไฮโดรเจน และอัตราส่วนระหว่างพันธะคาร์บอนกับออกซิเจน โดยขั้วไฟฟ้าฟิล์มบางคาร์บอนคล้ายเพชรที่มีพันธะคาร์บอนกับออกซิเจนจะทำให้เกิดการกัดกร่อนของฟิล์มบางคาร์บอนคล้ายเพชรในอัตราที่สูงมากถึง 5.96 ไมโครกรัมต่อชั่วโมง ส่วนขั้วไฟฟ้าคาร์บอนคล้ายเพชรที่มีพันธะคาร์บอนกับไฮโดรเจนสามารถปรับปรุงความสามารถในการนำไฟฟ้าไมมากขึ้นโดยมีค่าความต้านทานจำเพาะ 0.076 โอห์มต่อนาโนเมตร ทำให้มีประสิทธิภาพในการย่อยสลายเพิ่มขึ้นมาถึง 70 เปอร์เซ็นต์ ในระยะเวลา 100 วินาทีที่สารอยู่ในเครื่องปฏิกรณ์ขนาดไมโครเมตร นอกจากนี้แล้วทั้งสามคุณสมบัติของขั้วคาร์บอนคล้ายเพชรยังส่งผลต่อการสลายตัวของสารไดยูรอนทำให้เกิดสารตัวกลางที่แตกต่างกัน
Description: Thesis (M.Eng.)--Chulalongkorn University, 2018
Degree Name: Master of Engineering
Degree Level: Master's Degree
Degree Discipline: Chemical Engineering
URI: http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/61566
URI: http://doi.org/10.58837/CHULA.THE.2018.60
metadata.dc.identifier.DOI: 10.58837/CHULA.THE.2018.60
Type: Thesis
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
5970227921.pdf2.1 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.