Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/61849
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorอัจฉริยา สุริยะวงค์-
dc.contributor.advisorวีรินทร์ หวังจิรนิรันดร์-
dc.contributor.authorพงศ์ปิติ เดชะศิริ-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2019-05-16T02:38:16Z-
dc.date.available2019-05-16T02:38:16Z-
dc.date.issued2555-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/61849-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2555en_US
dc.description.abstractงานวิจัยนี้ศึกษาดัชนีคาร์บอนและศักยภาพการลดก๊าซเรือนกระจกจากการใช้พลังงานตลอดจนจำลองภาพเหตุการณ์ในอนาคตของอุตสาหกรรมสิ่งทอในประเทศไทย ผลการศึกษาพบว่า ค่าดัชนีคาร์บอน บนพื้นฐานมูลค่าเพิ่ม ณ ราคาคงที่ปี พ.ศ. 2548 และบนพื้นฐานปริมาณการผลิตของอุตสาหกรรมสิ่งทอในประเทศไทยปี พ.ศ. 2550 มีค่าเท่ากับ 0.31 กิโลกรัมคาร์บอนไดออกไซด์เทียบเท่าต่อเหรียญสหรัฐฯ และ 1.79 ตันคาร์บอนไดออกไซด์เทียบเท่าต่อตันผลิตภัณฑ์ตามลำดับ เมื่อวิเคราะห์ค่าดัชนีคาร์บอน บนพื้นฐานปริมาณการผลิตของโรงงานควบคุม พบว่าค่าดัชนีคาร์บอนของอุตสาหกรรมกลุ่มทอผ้าสูงที่สุดเท่ากับ 4.71 ตันคาร์บอนไดออกไซด์เทียบเท่าต่อตันผลิตภัณฑ์ รองลงมาคือ กลุ่มตกแต่งสำเร็จสิ่งทอ ปั่นด้าย ผลิตเครื่องนุ่งห่ม และผลิตเส้นใยสังเคราะห์ เท่ากับ 3.61, 2.89, 2.84 และ 1.39 ตันคาร์บอนไดออกไซด์เทียบเท่าต่อตันผลิตภัณฑ์ตามลำดับ การจำลองภาพเหตุการณ์ในอนาคตระหว่างปี พ.ศ. 2553-2573 กรณีพื้นฐานมีการปล่อยก๊าซเรือนกระจกเท่ากับ 5.10 เพิ่มเป็น 11.72 ล้านต้นคาร์บอนไดออกไซด์เทียบเท่า ซึ่งมีอัตราการเพิ่มขึ้นเฉลี่ยร้อยละ 33 ต่อปี และคิดเป็นค่าดัชนีคาร์บอน 21.42 ตันคาร์บอนไดออกไซด์เทียบเท่าต่อล้านบาท ส่วนภาพเหตุการณ์ทางเลือกกรณีปรับปรุงประสิทธิภาพเครื่องจักรและเทคโนโลยีและกรณีสับเปลี่ยนเชื้อเพลิงจากน้ำมันเตาเป็นก๊าซธรรมชาติ สามารถลดก๊าซเรือนกระจกคิดเป็นร้อยละ 6.34 และ 0.97 ตามลำดับ โดยมอเตอร์ไฟฟ้า คอมเพรสเซอร์ และหม้อต้มน้ำเป็นอุปกรณ์ที่มีศักยภาพคิดเป็นร้อยละ 62.6, 30.6 และ 6.8 ของศักยภาพการลดก๊าซเรือนกระจกตามลำดับen_US
dc.description.abstractalternativeThis study investigated Carbon Intensity (CI) and the GHG mitigation potential for Thailand textile industries. The results showed that the CI based on value-added constant price 2005 and CI based on physical product 2007 of Thailand textile industries are 0.31 kgCO2eq/USD and 1.79 tCO2eq/ton products, respectively. The CI based on physical product of designated factories was found that the CI of weaving industries is highest (4.71 tCO2eq/ton products), following by finishing, yarn, clothing and fiber (3.61, 2.89, 2.84 and 1.39 TCO2eq/ton products, respectively). The future scenarios of GHG emission study in 2010 to 2030. Baseline scenario is increasing from 5.10 to 11.72 Million TCO2eq (33% per year) or 21.42 tCO2eq/ Million THB. The alternative scenario that new installation of high efficient equipment, replacing and fuel switching showed the GHG mitigate as 6.34 and 0.97%, respectively. The improvement of motor, compressor and boiler efficiency has gained the GHG mitigation potential as 62.6, 30.6 and 6.8% of the GHG mitigation potential, respectively.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2012.782-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectก๊าซเรือนกระจก -- การลดปริมาณen_US
dc.subjectคาร์บอนไดออกไซด์en_US
dc.subjectอุตสาหกรรมสิ่งทอ -- การใช้พลังงานen_US
dc.subjectGreenhouse gas mitigationen_US
dc.subjectCarbon dioxide-
dc.subjectTextile industry -- Energy consumption-
dc.titleการศึกษาดัชนีคาร์บอนจากการใช้พลังงาน สำหรับอุตสาหกรรมสิ่งทอในประเทศไทยen_US
dc.title.alternativeA study of energy-related carbon intensity of textile industry in Thailanden_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อมen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorไม่มีข้อมูล-
dc.email.advisorWeerin.W@Chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2012.782-
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Phongpiti Dechasiri.pdf1.24 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.