Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/62051
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorฐานบ ธิติมากร-
dc.contributor.authorคมกฤษ อ่อนแก้ว-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์-
dc.coverage.spatialไทย-
dc.coverage.spatialเชียงราย-
dc.date.accessioned2019-06-03T04:14:22Z-
dc.date.available2019-06-03T04:14:22Z-
dc.date.issued2560-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/62051-
dc.descriptionโครงงานเป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาธรณีวิทยา คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีการศึกษา 2560en_US
dc.description.abstractในวันที่ 24 มีนาคม พ.ศ.2554 มีรายงานเกี่ยวกับการรับรู้ถึงการสั่นไหวของแผ่นดินไหวในพื้นที่กรุงเทพฯ ที่เกิดจากแผ่นดินไหวที่เมืองเกงตุง ประเทศพม่า ขนาด 6.7 แมกนิจูด เหตุการณ์ครั้งนี้เกิดจากการที่กรุงเทพฯ ตั้งอยู่บนชั้นดินเหนียวอ่อน ทำให้คลื่นแผ่นดินไหวมีการขยายสัญญาณคลื่นประมาณ 3 – 4 เท่า หลาย ๆ พื้นที่ในประเทศไทยได้ตั้งอยู่บนชั้นดินอ่อน ซึ่งอำเภอเมือง จังหวัดเชียงรายเป็นพื้นที่หนึ่งที่ตั้งอยู่บนแอ่งตะกอน และจังหวัดเชียงรายยังถูกจัดให้เป็นพื้นที่เสี่ยงต่อธรณีพิบัติภัยแผ่นดินไหว เนื่องจากถูกล้อมด้วยรอยเลื่อนที่มีพลังหลายรอยเลื่อน ดังนั้นอำเภอเมือง จังหวัดเชียงราย จึงเป็นพื้นที่ที่เหมาะสมในการศึกษาการตอบสนองต่อแรงแผ่นดินไหวของชั้นดิน โดยในการศึกษาครั้งนี้เป็นการวิเคราะห์การตอบสนองต่อแรงแผ่นดินไหวของดินจากข้อมูลหลุมเจาะและข้อมูลธรณีฟิสิกส์ ข้อมูลหลุมขุดเจาะที่วัดป่าหวายขุมเงิน มีความลึกทั้งหมด 30 เมตร โดยคลื่นแผ่นดินไหวที่ใช้สำหรับการศึกษานี้ใช้ทั้งหมด 9 คลื่นแผ่นดินไหว แบ่งออกเป็น 3 กลุ่ม กลุ่มที่ 1 คือคลื่นแผ่นดินไหวที่มีขนาดแผ่นดินไหวเท่ากัน แต่มีระยะทางจากจุดกำเนิดแผ่นดินไหวต่างกัน กลุ่มที่ 2 คือคลื่นแผ่นดินไหวที่มีระยะทางจากจุดกำเนิดแผ่นดินไหวใกล้เคียงกัน แต่มีขนาดแผ่นดินไหวแตกต่างกัน กลุ่มที่ 3 คือคลื่นแผ่นดินไหวจากเหตุการณ์แผ่นดินไหวในประเทศไทยและพื้นที่ใกล้เคียง ผลของการศึกษาคือ การขยายแรงแผ่นดินไหวอยู่ในช่วง 1.2 ถึง 2.2 เท่า ค่าสเปกตรัมความเร่งของคลื่นแผ่นดินไหวอยู่ในช่วง 0.05 ถึง 1.05 วินาที ซึ่งตรงกับค่าคาบการสั่นพื้นฐานของอาคารคอนกรีตเสริมเหล็กสูง 1 ถึง 19 ชั้น ค่าระยะเวลาการสั่นไหวมีค่าค่อนข้างหลากหลาย นอกจากการวิเคราะห์การตอบสนองต่อชั้นดินแล้ว ยังได้เปรียบเทียบความเร็วคลื่นเฉือนจากวิธีทางธรณีฟิสิกส์ 2 วิธี คือ วิธีวัดคลื่นพื้นผิวแบบหลายช่องรับสัญญาณและวิธีสำรวจคลื่นไหวสะเทือนในหลุมเจาะ ซึ่งพบว่าเปอร์เซ็นต์ความแตกต่างของข้อมูลจากทั้ง 2 วิธี เท่ากับ 5.08% ซึ่งอยู่ในช่วงยอมรับได้ ดังนั้นสามารถใช้ข้อมูลความเร็วคลื่นเฉือนแทนกันได้en_US
dc.description.abstractalternativeOn March 24, 2011, The 6.7 magnitude earthquake in Kengtung, Myanmar affect people on high buildings in Bangkok. Because Bangkok City is located on a soft clay layer, the earthquake waves are amplified about 3 - 4 times by this layer. Muang district, Chiang Rai province is located on soil layer and Chiang Rai province is also classified in earthquake risk zone. Chiang Rai province is also located near many active faults. Therefore, in this study the main objective is to analyze earthquake site response of soils by using borehole and geophysical data. The borehole data is from Wat Pha Wai Khum Ngern and the total depth is 30 meters. There are 9 earthquake waves used in this study and they are divided into 3 groups. The first group is an earthquake with the same size but there are different distances from the fault rupture. The second group is an earthquake with the same distances from the fault rupture but different in size. The last group is an earthquake that is occurred in Thailand and nearby. The result of this study shows that the amplification ratio of Wat Pha Wai Khum Ngern borehole is range 1.2 to 2.2 times. Spectral acceleration is range 0.05 to 1.05 that related to the fundamental period of 1 to 19 storey reinforced concrete building. The bracketed duration of earthquakes is very diverse. The comparison of multichannel analysis of surface wave and downhole seismic shows that percent difference between these 2 methods is 5.08%. So, it is in an acceptable range.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectแผ่นดินไหว -- ไทย -- เชียงรายen_US
dc.subjectรอยเลื่อน (ธรณีวิทยา) -- ไทย -- เชียงรายen_US
dc.subjectEarthquakes -- Thailand -- Chiang Raien_US
dc.subjectFaults (Geology) -- Thailand -- Chiang Raien_US
dc.titleการวิเคราะห์การตอบสนองต่อแรงแผ่นดินไหวของดิน ในอำเภอเมือง จังหวัดเชียงรายen_US
dc.title.alternativeEarthquake site response analysis of soils in Muang district, Chiang Rai provinceen_US
dc.typeSenior Projecten_US
dc.email.advisorThanop.T@Chula.ac.th-
Appears in Collections:Sci - Senior Projects

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Senior_project_Khomkrit Onkaew.pdf16.12 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.