Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/62080
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorชัยรัตน์ วิวัฒน์วรพันธ์-
dc.contributor.authorนงลักษณ์ เกรียงไกรเกษม-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะทันตแพทยศาสตร์-
dc.date.accessioned2019-06-10T05:11:26Z-
dc.date.available2019-06-10T05:11:26Z-
dc.date.issued2551-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/62080-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2551en_US
dc.description.abstractวัตถุประสงค์ เพื่อประเมินผลของสารปรับสภาพผิวหน้าของฐานฟันปลอมอะคริลิกเรซินชนิดบ่มด้วยความร้อน เมื่อซ่อมด้วยอะคริลิกเรซินชนิดบ่มด้วยตัวเอง โดยพิจารณาจากค่าความแข็งแรงดัดขวาง วัสดุและวิธีการ เตรียมชิ้นงานอะคริลิกเรซินชนิดบ่มด้วยความร้อน ตามมาตรฐาน ISO1567 จำนวน100 ชิ้น แบ่งเป็น 10 กลุ่มโดยสุ่ม ดังนี้ กลุ่มควบคุมบวก (กลุ่ม1) และลบ (กลุ่ม2) และกลุ่มทดลอง 8กลุ่ม โดยนำกลุ่ม 2-10 มาตัดตรงกลางให้ได้หน้าตัดเฉียง 45 องศา ทำการปรับสภาพผิวหน้าโดย กลุ่ม3 และ 4 ใช้ส่วนเหลวของยูนิฟาสไทรเอด® เป็นเวลา 5 และ 180 วินาทีตามลำดับ กลุ่ม 5 ใช้ส่วนยึดติดของสารรีเบสทู ตามคำแนะนำของผู้ผลิต กลุ่ม 6-10 ใช้สารเมทิลอะซิเตต สารเมทิลฟอร์เมต และสารละลายเมทิลอะซิเตต และเมทิลฟอร์เมตความเข้มข้นต่างๆ เป็นเวลา15 วินาที จากนั้นซ่อมด้วยอะคริลิกเรซินชนิดบ่มด้วยตัวเอง เปรียบเทียบค่าแรงดัดขวางของชิ้นงานทั้งหมดด้วยลักษณะแรงดัดโค้งแบบ 3 จุด โดยเครื่องทดสอบสากล (Universal Testing Machine, 8872, INSTRON UK) ใช้สถิติวิเคราะห์ความแปรปรวนแบบทางเดียว และเปรียบเทียบระหว่างกลุ่มด้วยทูคีย์ ที่ระดับนัยสำคัญ .05 จากนั้นนำชิ้นงานที่ทดสอบมาจำแนกลักษณะการแตกหัก ผลการศึกษา กลุ่ม 4-10 มีค่าเฉลี่ยแรงดัดขวางที่มากกว่า กลุ่ม 2 อย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ .05 และพบว่ากลุ่ม 5-10 มีค่าเฉลี่ยที่ไม่ต่างกันที่ระดับนัยสำคัญ .05 เมื่อพิจารณาลักษณะการแตกหักพบว่ากลุ่ม 6-10 มีการแตกหักแบบเชื่อมแน่นร้อยละ100 ในขณะที่กลุ่ม 2-5 มีการแตกหักแบบเชื่อมแน่นร้อยละ 10, 40, 60 และ 60 ตามลำดับ สรุป การปรับสภาพพื้นผิวด้วยสารเมทิลอะซิเตต สารเมทิลฟอร์เมต และสารละลายเมทิลอะซิเตต และเมทิลฟอร์เมต ที่ความเข้มข้นต่างๆ สามารถเพิ่มค่าความแข็งแรงดัดขวางของอะคริลิกเรซินชนิดบ่มด้วยความร้อนเมื่อซ่อมด้วยอะคริลิกเรซินชนิดบ่มด้วยตัวเอง ได้อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติen_US
dc.description.abstractalternativeObjective: To evaluate the effect of the selected chemical surface treatment agents on the flexural strength of heat-cured acrylic resin when repaired with self-cured acrylic resin. Materials and Methods: One hundred heat cured acrylic resin specimens were prepared according to ISO1567 and randomly divided into 10 groups ; positive and negative control (group 1 and 2) and eight experimental groups. Group 2-10 were cut in the middle and beveled 45 degree. Group 3 and 4 were treated with liquid part of Unifast trad® for 5 and 180 seconds respectively. Group 5 was treated with Rebase II adhesive® according to the manufacturer. Group 6-10 were treated with methyl acetate, methyl formate and methyl acetate -methyl formate solutions for 15 seconds. Then repaired with self-cured acrylic resin. A three-point loading test was performed by using Universal testing machine (INSTRON UK). One-way ANOVA and post hoc Tukey’s analysis at p<.05 were used for statistical comparison. Failure analysis was also recorded for each specimen. Result: The flexural strength of group 4-10 were significantly greater than Group 2 (p<.05). The flexural strength of group 5-10 were no significant difference (p>.05). All fractured specimens in group 6-10 showed 100% cohesive failure while group 2-5 showed cohesive failure 10, 40, 60 and 60% respectively. Conclusion: Treating surface with methyl acetate, methyl formate and methyl acetate -methyl formate solutions at various concentrations significantly increased flexural strength of heat-cured acrylic denture base resin when repaired with self-cured acrylic resin.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2008.2024-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectฟันปลอมen_US
dc.subjectทันตกรรมประดิษฐ์en_US
dc.subjectDenturesen_US
dc.subjectProsthodonticsen_US
dc.titleผลของสารปรับสภาพพื้นผิวที่มีต่อความแข็งแรงดัดขวางในการซ่อมฐานฟันปลอมอะคริลิกเรซินen_US
dc.title.alternativeThe effect of chemical surface treatments on the flexural strength of repaired acrylic denture base resinen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineทันตกรรมประดิษฐ์en_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorchairat.w@chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2008.2024-
Appears in Collections:Dent - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Nonglax Kriengkraikasem.pdf3.72 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.