Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/62101
Title: Improvement of GPRS international roaming process using Lean Six Sigma approach
Other Titles: การปรับปรุงกระบวนการให้บริการกับส่งข้อมูลข้ามแดนอัตโนมัติโดยวิธีการของลีนซิกซ์ซิกมา
Authors: Rarintip Sirisukpoca
Advisors: Prasert Akkharaprathomphong
Other author: Chulalongkorn University. Faculty of Engineering
Advisor's Email: Prasert.a@chula.ac.th
Subjects: Data transmission systems -- Time management
Workflow -- Management
Six sigma (Quality control standard)
ระบบสื่อสารข้อมูล -- การบริหารเวลา
ผังระบบงาน -- การจัดการ
ซิกซ์ซิกมา (มาตรฐานการควบคุมคุณภาพ)
Issue Date: 2008
Publisher: Chulalongkorn University
Abstract: The purpose of this research is to improve GPRS International Roaming process by using Lean Six Sigma approach. The selected methodology of this research is DMAIC. It is applied to efficiently reduce the average set-up time before commercial launch to customer. The scope of this research covers only the International Roaming services in data communication network, namely GPRS from preparing documents by international business division to processing by engineering division. Flow chart analysis, SIPOC and Cause and Effect diagram are applied as quality tools for problem identification and analysis in pre-launch phase of GPRS International Roaming process. Based on the study, it is found that the main causes are from Man, Material, and Method which have inefficiency in planning and designing. These causes lead to the delay problem in launching new GPRS International Roaming service, and inefficient resource management. These problems led to losing opportunity to increase revenue of the company and low competition to competitors. With results of analysis, the new process of GPRS International Roaming service is conducted as a standard process to improve resource managements, especially time management. It can reduce the average set-up time from 203.6 days to 84.6 days which is 58.45% time reduction.
Other Abstract: งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อปรับปรุงกระบวนการให้บริการรับส่งข้อมูลข้ามแดนอัตโนมัติโดยวิธีการของลีนซิกซ์ซิกมา ตามขั้นตอนการพัฒนาโครงการ DMAIC โดยเน้นปรับลดระยะเวลาในการทำงานอย่างมีประสิทธิภาพในขั้นตอนการเปิดบริการใหม่ก่อนให้ลูกค้าใช้งานจริง ขอบข่ายของการวิจัยจะเน้นกระบวนการเปิดบริการข้ามแดนอัตโนมัติเฉพาะบริการรับส่งข้อมูลที่เป็นโครงข่าย GPRS (General Packet Radio Service) ตั้งแต่การเตรียมข้อมูลของส่วนงานธุรกิจระหว่างประเทศไปจนถึงการดำเนินงานในส่วนงานทางวิศวกรรม การวิเคราะห์ผังงาน (Flow Chart Analysis) กระบวนการ SIPOC และ แผนภูมิการวิเคราะห์เหตุและผล (Cause and Effect diagram) ได้ถูกนำมาใช้ในการวิเคราะห์และระบุถึงปัญหาในกระบวนการเปิดบริการรับส่งข้อมูลข้ามแดนอัตโนมัติ จากการศึกษาพบว่าปัญหาหลักๆ เกิดจาก คน วัสดุ และขั้นตอนการทำงานที่ไม่มีการวางแผนที่ดี ปัญหาเหล่านี้ทำให้เกิดปัญหาความล่าช้าในการเปิดให้บริการ รวมไปถึงการใช้ทรัพยากรอย่างไม่มีประสิทธิภาพ ซึ่งส่งผลกระทบต่อการสร้างโอกาสในการเพิ่มรายได้ของบริษัท และยังทำให้เกิดการเสียเปรียบคู่แข่งทางการค้าในเชิงธุรกิจอีกด้วย จากผลการวิเคราะห์นำไปสู่การจัดทำขั้นตอนมาตรฐานในการเปิดให้บริการรับส่งข้อมูลข้ามแดนอัตโนมัติเพื่อปรับลดระยะเวลาการทำงาน ขั้นตอนการทำงานของพนักงานให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น โดยการปรับปรุงนี้ได้ลดค่าเฉลี่ยระยะเวลาการทำงานจาก 203.6 วัน เป็น 84.6 วัน ซึ่งคิดเป็น 58.45%
Description: Thesis (M.Eng.)--Chulalongkorn University, 2008
Degree Name: Master of Engineering
Degree Level: Master's Degree
Degree Discipline: Engineering Management
URI: http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/62101
URI: http://doi.org/10.14457/CU.the.2008.1672
metadata.dc.identifier.DOI: 10.14457/CU.the.2008.1672
Type: Thesis
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Rarintip Sirisukpoca.pdf3.93 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.