Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/62154
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorรัญจวน อินทรกำแหง-
dc.contributor.authorไข่มุกด์ มิลินทะเลข-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2019-06-20T04:10:03Z-
dc.date.available2019-06-20T04:10:03Z-
dc.date.issued2508-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/62154-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (อ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2508-
dc.description.abstractกรมการฝึกหัดครูจัดให้มีการสอนวิชาบรรณารักษศาสตร์ขึ้นครั้งแรกเมื่อปีการศึกษา 2500 ที่วิทยาลัยวิชาการศึกษา ประสานมิตร ใช้ชื่อว่า Know Your Library ต่อมาในปีการศึกษา 2508 ได้ขยายการสอนขึ้นในระดับประกาศนียบัตรวิชาการศึกษาชั้นสูง (ป. กศ. ชั้นสูง) ใช้ชื่อวิชาว่า “การจัดและใช้ห้องสมุดเป็นวิชาเลือกเสรี ไม่ใช่วิชาบังคับ และได้จัดเป็นวิชาบังคับในระดับประกาศนียบัตรวิชาการศึกษา (ป. กค.) ในปีการศึกษา 2508 ใช้ชื่อวิชาว่า “บรรณารักษศาสตร์” นอกจากนี้ยังได้จัดให้มีในหลักสูตรการอบรมเพื่อการศึกษาในระหว่างปิดภาคเรียนฤดูร้อน (อ.ศ.ร.) วิชาชุด ป. คศ. ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2506 และวิชาชุดประโยคครูมัธยม (ป.ม.) ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2507 ส่วนการสอนวิชาชุด ป. คศ. วิชานี้เริ่มเมื่อปีการศึกษา 2506 ในปีการศึกษา 2508 ได้ขยายการศึกษาวิชาบรรณารักษศาสตร์นี้ขึ้นในหลักสูตรประกาศนียบัตรชั้นสูงวิชาเฉพาะ สาขาวิชาบรรณารักษศาสตร์ ต่อจากขั้นปริญญาตรี หลักสูตร 1 ปี ที่วิทยาลัยวิชาการศึกษา ประสานมิตร และจะขยายถึงขั้นปริญญาโททางการศึกษา สาขาบรรณารักษศาสตร์ หลักสูตร 2 ปี ขึ้นในปีการศึกษา 2509 ณ สถาบันการศึกษาแห่งนี้อีกด้วย สรุปแล้วจะเห็นได้ว่าการศึกษาวิชาบรรณารักษศาสตร์ในระดับฝึกหัดครูในประเทศไทยเพิ่งจะเริ่มในระยะ 10 ปีนี้เอง และเป็นการช่วยขจัดปัญหาการขาดแคลนบรรณารักษ์โรงเรียนได้มาก จากการสำรวจในการทำวิทยานิพนธ์ครั้งนี้ ปรากฏว่า ถ้าได้มีการปรับปรุงแก้ไขการสอนและการศึกษาให้เหมาะสมยิ่งขึ้นแล้ว จะเป็นการพัฒนาการศึกษาวิชานี้ให้กว้างขวางและมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น สิ่งที่ควรปรับปรุงแก้ไขได้แก่อาจารย์ผู้สอน ควรเป็นผู้มีวุฒิทางบรรณารักษศาสตร์และจัดให้มีจำนวนเพียงพอ หลักสูตรควรจัดให้เหมาะสมกับความต้องการและสมดุลกับเวลา และควรให้โอกาสนักศึกษาได้มีเวลาฝึกหัดการใช้ห้องสมุดและฝึกงานภาคปฏิบัติด้วย ควรมีสถานที่โดยเฉพาะสำหรับใช้สอนวิชานี้ และควรเตรียมอุปกรณ์การสอนให้พร้อมทั้งเครื่องใช้และตำราประกอบการเรียนการสอน เป็นต้น-
dc.language.isoth-
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.subjectบรรณารักษศาสตร์ -- การศึกษาและการสอน-
dc.titleการศึกษาวิชาบรรณารักษศาสตร์ในระดับฝึกหัดครู-
dc.title.alternativeLibrary training of agencies under the supervision of the teacher training department, ministry of education-
dc.typeThesis-
dc.degree.nameอักษรศาสตรมหาบัณฑิต-
dc.degree.levelปริญญาโท-
dc.degree.disciplineบรรณารักษศาสตร์และสารนิเทศศาสตร์-
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Kaimuk_Mi_front.pdf1.69 MBAdobe PDFView/Open
Kaimuk_Mi_ch1.pdf801.28 kBAdobe PDFView/Open
Kaimuk_Mi_ch2.pdf1.2 MBAdobe PDFView/Open
Kaimuk_Mi_ch3.pdf758.43 kBAdobe PDFView/Open
Kaimuk_Mi_ch4.pdf605.66 kBAdobe PDFView/Open
Kaimuk_Mi_ch5.pdf999.63 kBAdobe PDFView/Open
Kaimuk_Mi_ch6.pdf983.68 kBAdobe PDFView/Open
Kaimuk_Mi_ch7.pdf490.83 kBAdobe PDFView/Open
Kaimuk_Mi_back.pdf1.06 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.