Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/62424
Title: การออกแบบและสร้างเกราะกำบังรังสีสำหรับต้นกำเนิดรังสีแกมมา ซีเซียม-137 ความแรง 5 คูรี เพื่อใช้ในงาน
Other Titles: Design and construction of shield for 5-curle caesium-137 camma source for raoiography
Authors: วิรุฬห์ ตริสกุล
Advisors: สมยศ ศรีสถิตย์
Other author: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย
Subjects: วัสดุกำบังรังสี
การบันทึกภาพด้วยรังสีทางอุตสาหกรรม
รังสีแกมมา -- มาตรการความปลอดภัย
Shielding (Radiation)
Radiography, Industrial
Gamma rays -- Safety measures
Issue Date: 2533
Publisher: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
Abstract: การวิจัยนี้เป็นการออกแบบและสร้างเกาะกำบังรังสี สำหรับต้นกำเนิดรังสี ซีเซียม-137 ความแรง 5 คูรี สำหรับใช้ในการถ่ายภาพด้วยรังสีแกมมา ซึ่งสามารถเคลื่อนย้ายได้สะดวกเกราะกำบังรังสีที่ใช้เก็บต้นกำเนิดรังสีติดตั้งอยู่บนแขนยืดที่สามารถปรับระยะห่างระหว่างต้นกำเนิดรังสีถึงฟิล์มได้ ไม่เกิน 65 ซม. ในแนวตั้ง ในกรณีที่ต้องการถ่ายภาพที่ระยะห่างเกิน 65 ซม. ก็สามารถปรับทิศทางลำรังสีให้อยู่ในแนวนอน วัสดุกำบังรังสีที่เลือกใช้คือตะกั่วซึ่งบรรจุในโครงสร้างเหล็กไร้สนิมหนา 3 มม. ความหนาต่ำสุดของตะกั่วที่ใช้กำบังรังสีคือ 8.5 ซม. ซึ่งจากการคำนวณพบว่าอัตราการรับรังสีที่ผิวมีค่าไม่เกิน 30 m3/hr การถ่ายภาพทำได้ 2 ลักษณะคือ ถ่ายภาพในทิศทางเดียวและถ่ายภาพแบบรอบตัว การใช้งานต้นกำเนิ[ด]รังสีทำได้โดยการควบคุมระบบขับเคลื่อน และระบบควบคุมการทำงานจากระยะไกล สามารถเลือกใช้กำลังไฟฟ้ากระแสสลับ 220 โวลต์หรือไฟฟ้ากระแสตรง 12 โวลต์จากแบตเตอรี อุปกรณ์ถ่ายภาพด้วยรังสีนี้ ติดตั้งอยู่บนล้อเลื่อนแบบ 4 ล้อ น้ำหนักรวมของอุปกรณ์ทั้งหมด 140 กิโลกรัม
Other Abstract: A mobile gamma radiography unit was designed and constructed to be used for a 5 curies caesium-137 source. The shield containing the source was mounted on steel bars which could be adjusted to vary the source-to-film distance up to a maximun vertical distance of 65 cm. It could be turn around a borizontal axis for exposure at distance greater than 65 cm. The gamma shield was calculated to assure that the maximun dose rate at the surface would not exceed 30 m3/hr. The shield was made of 8.5 cm thick lead covered with a 3 mm thick stainless steel plate. The source could provide two mode of exposure, mamely the forward directional beam and the panoramic exposures. The source was operated by a driving mechanism and a remote control unit powered by a 220 volts 4C. or a 12 volts DC. battery. This gamma radiography unit was mounted on a four-wheel platform and the whole set-up weighed 140 kg.
Description: วิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2533
Degree Name: วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต
Degree Level: ปริญญาโท
Degree Discipline: นิวเคลียร์เทคโนโลยี
URI: http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/62424
ISBN: 9745773798
Type: Thesis
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Virul_tri_front_p.pdf3.37 MBAdobe PDFView/Open
Virul_tri_ch1_p.pdf1.41 MBAdobe PDFView/Open
Virul_tri_ch2_p.pdf4.42 MBAdobe PDFView/Open
Virul_tri_ch3_p.pdf6.17 MBAdobe PDFView/Open
Virul_tri_ch4_p.pdf2.79 MBAdobe PDFView/Open
Virul_tri_ch5_p.pdf2.15 MBAdobe PDFView/Open
Virul_tri_ch6_p.pdf1.35 MBAdobe PDFView/Open
Virul_tri_back_p.pdf12.86 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.