Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/62447
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ชุมพร ปัจจุสานนท์ | - |
dc.contributor.author | วิลาวัณย์ ปิตาวรานนท์ | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย | - |
dc.date.accessioned | 2019-07-15T08:37:01Z | - |
dc.date.available | 2019-07-15T08:37:01Z | - |
dc.date.issued | 2534 | - |
dc.identifier.isbn | 9745787493 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/62447 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (น.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2534 | - |
dc.description.abstract | สัญชาติเป็นพื้นฐานความสัมพันธ์ที่ต่อเนื่อง ระหว่างบุคคลคนหนึ่งกับรัฐที่ตนมีสัญชาติ และก่อให้เกิดสิทธิและหน้าที่ระหว่างบุคคลกับรัฐ สัญชาติจึงเป็นเงื่อนไขสำคัญที่เป็นตัวกำหนดสิทธิและหน้าที่ ทำให้เกิดความแตกต่างจากบุคคลที่อาศัยอยู่ในรัฐนั้น แต่มิได้มีสัญชาติของรัฐนั้น และด้วยเหตุที่สัญชาติเป็นเรื่องอันพึงถือเป็นกิจการภายในของรัฐ รัฐจึงมีอำนาจและดุลพินิจอย่างกว้างขวางที่จะกำหนดกฎเกณฑ์ที่จะใช้เป็นเครื่องทดสอบในการตรากฎหมายสัญชาติ และในการถือว่าบุคคลใดบ้างเป็นคนชาติของตน ในขณะที่บุคคลบางกลุ่มพยายามที่จะแสดงให้รัฐเห็นว่า ตนเป็นผู้หนึ่งที่อยู่ในกฎเกณฑ์ที่รัฐกำหนด ความพยาบาลนี้จึงก่อให้เกิดการโต้แย้งสิทธิ อันนำไปสู่กระบวนการของการพิสูจน์สัญชาติ เพื่อให้รัฐยอมรับความมีสัญชาติของบุคคลนั้นๆ วิทยานิพนธ์ฉบับนี้ ได้ศึกษาถึงหลักเกณฑ์ในการพิสูจน์สัญชาติไทยไม่ว่าจะเป็นการพิสูจน์ ตามกระบวนการที่กำหนดในพระราชบัญญัติคนเข้าเมือง พ.ศ. 2522 หรือพิสูจน์ว่าบุคคลใดไม่เข้าเงื่อนไขของการถอนสัญชาติไทย หรือไม่ได้รับสัญชาติไทย ตามประกาศของคณะปฏิวัติ ฉบับที่ 337 ลงวันที่ 13 ธันวาคม 2515 การศึกษาเปรียบเทียยกฎเกณฑ์การพิสูจน์สัญชาติกับต่างประเทศตลอดจนการสำรวจความคิดเห็นของผู้ที่ปฏิบัติงานเกี่ยวข้องกับกฎหมายสัญชาติ ท้ายที่สุด ปัญหาที่เกี่ยวข้องกับการพิสูจน์สัญชาติไทยของบุคคลธรรมดาส่งผลกระทบให้เห็นว่า มีข้อบกพร่องที่สมควรจะต้องมีการปรับปรุงแก้ไขบทบัญญัติของกฎหมาย เพื่อให้สอดคล้องกับความเป็นธรรมในสังคม การปรับปรุงประสิทธิภาพของหน่วยงานที่รับผิดชอบเกี่ยวกับเรื่องสัญชาติ การสำรวจความคิดเห็นของผู้ที่ปฏิบัติงานเกี่ยวข้องกับกฎหมายสัญชาติ การศึกษาเหล่านี้จะก่อให้เกิดประโยชน์ต่อการปรับปรุงหรือพัฒนากฎหมายให้มีรูปแบบชัดเจนขึ้น และก่อให้เกิดความเป็นธรรมต่อผู้ที่สมควรจะได้รับสัญชาติไทยอย่างแท้จริง | - |
dc.description.abstractalternative | Nationality is the origin of relationship between a person and the State which he is its subject. Nationality is an important factor manipulating the rights and duties of an individual having with the State. Such obligatory rights and duties create distinction between its nationality holders and the holders of nationalities other than the state they are living in. Since the matter concerning nationality is regarded as an internal affairs, the State has full powers and discretion to exact laws governing acquisition or removal of its nationality from undesirable holders (s). As some groups of people try to prove themselves that they are qualified and entitled to hold the nationality of the State in accordance with the criteria set by it, the burden of proof rest on them. This thesis deals with the principles of proving Thai nationality of the person in question which includes the Immigration Act B.E. 2522, the Order of Revolutionary Party No. 337 dated December 13, B.E. 2515, comparative study of Thai principles versus foreign countries as well as conducting survey on the opinions of those working in the field of laws concerning the Nationality affairs. Lastly, the thesis also identify the problems arising from the proof of legitimate right of a person to hold Thai nationality, the shortcomings of the relevant laws requiring some amendment for more justice to the society. Improving the efficiency of the agencies responsible for the nationality affairs and taking the recommendation of those working for the abovementioned agencies into consideration are very useful. Improvement or amendment of the relevant laws would ultimately bring about more justice to those deserved to be given Thai nationality. | - |
dc.language.iso | th | - |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | - |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | - |
dc.subject | สัญชาติ -- กฎหมายและระเบียบข้อบังคับ | - |
dc.subject | กฎหมายระหว่างประเทศ -- คดีบุคคล | - |
dc.subject | Citizenship -- Law and legislation | - |
dc.title | การพิสูจน์สัญชาติไทยของบุคคลธรรมดา | - |
dc.title.alternative | Proof of Thai Nationality | - |
dc.type | Thesis | - |
dc.degree.name | นิติศาสตรมหาบัณฑิต | - |
dc.degree.level | ปริญญาโท | - |
dc.degree.discipline | นิติศาสตร์ | - |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | - |
Appears in Collections: | Grad - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Wilawan_pi_front_p.pdf | 9.68 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Wilawan_pi_ch1_p.pdf | 19.79 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Wilawan_pi_ch2_p.pdf | 17.37 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Wilawan_pi_ch3_p.pdf | 18.4 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Wilawan_pi_ch4_p.pdf | 20.92 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Wilawan_pi_ch5_p.pdf | 5.44 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Wilawan_pi_back_p.pdf | 35.07 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.