Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/62477
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | อนุสรณ์ ลิ่มมณี | - |
dc.contributor.author | วุฒิชัย ศิริพฤษนันท์ | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย | - |
dc.date.accessioned | 2019-07-19T07:44:00Z | - |
dc.date.available | 2019-07-19T07:44:00Z | - |
dc.date.issued | 2539 | - |
dc.identifier.isbn | 9746358065 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/62477 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (ร.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2539 | - |
dc.description.abstract | การศึกษานี้ มีวัตถุประสงค์ที่จะศึกษาถึงเสถียรภาพของรัฐบาล ซึ่งเป็นปัจจัยหนึ่งที่ส่งผลกระทบต่อการตัดสินใจลงทุนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย โดยใช้ตัวชี้วัดคือ การปรับตัวขึ้น-ลงของดัชนีราคาหุ้นตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย (SET index) ในช่วงตั้งแต่ตลาดหลักทรัพย์ฯ เปิดทำการในปี พ.ศ. 2518 จนถึงช่วงกลางปี พ.ศ. 2538 โดยศึกษาค้นคว้าจากข้อมูลแหล่งต่าง ๆ เพื่อทดสอบว่า เมื่อเสถียรภาพทางการเมือง มีความมั่นคง ดัชนีฯ จะมีการปรับตัวสูงขึ้น อันเป็นการแสดงออกถึงความพึงพอใจต่อสภาวะทางการเมืองที่เป็นอยู่ในขณะนั้น และเมื่อเสถียรภาพทางการเมืองไม่มีความมั่นคง ดัชนีฯ จะมีการปรับตัวลดลง ผลจาการศึกษาพบว่า ปัจจัยทางการเมืองภายในประเทศ ส่งผลกระทบต่อการตัดสินใจในการลงทุนในตลาดหลักทรัพย์มากขึ้นเป็นลำดับ โดยในช่วง 10 ปีแรกของการดำเนินการของตลาดฯ (พ.ศ.2518-2530) ปัจจัยทางการเมืองภายในประเทศยังส่งผลกระที่ไม่ชัดเจนมากนัก ปัจจัยที่มีผลกระทบอย่างมากในช่วงนี้ จะเป็นปัจจัยทางด้านเศรษฐกิจเป็นส่วนใหญ่ ต่อเมื่อปี พ.ศ. 2531 เป็นต้นมา ปัจจัยทางการเมืองภายในประเทศจึงเริ่มได้รับความสนใจ และทวีความสำคัญมากขึ้น รวมทั้งมีผลกระทบต่อการตัดสินใจลงทุนมากขึ้น โดยเฉพาะอย่างยิ่งในช่วงที่มีเหตุการณ์ทางการเมืองที่สำคัญ เช่น การปฏิวัติรัฐประหาร, การเลือกตั้ง, การยุบสภา, การลาออกจากตำแหน่งที่สำคัญฯ เป็นต้น และในช่วงตั้งแต่ปี พ.ศ. 2537-2538 ดัชนีฯ ได้มีบทบาทในบางขณะที่สะท้อนถึงประสิทธิภาพทางเศรษฐกิจของรัฐบาลอย่างเด่นชัด รวมถึงได้มีการนำเอาดัชนีฯ มาใช้เป็นเครื่องมือทางการเมือง ในประเด็นที่เกี่ยวข้องกับภาพลักษ์ณของรัฐบาลด้วย | - |
dc.description.abstractalternative | The objective of this study is to study the movement of the SET index (the Stock Exchange of Thailand index) as a political stability indicator and political feedbacker. The movement of the SET index was affected by many factors. The domestic political situation was one of these factors. From this study (1975 – the middle of 1995), It is found that in the beginning period, the SET index was not actually affected by the domestic political situations. Most of important factors in the period were economic one. Until the middle of 1988, the impact of the domestic political factor has increased as a major factor, especially in 1991-1992 as a result of the 1991 coup and the 1992, May incident. | - |
dc.language.iso | th | - |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | - |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | - |
dc.subject | รัฐบาล | - |
dc.subject | การลงทุน | - |
dc.subject | ตลาดหลักทรัพย์ | - |
dc.subject | Cabinet system | - |
dc.subject | Investments | - |
dc.subject | Stock exchanges | - |
dc.title | เสถียรภาพทางการเมืองกับตลาดหลักทรัพย์ : ศึกษาจากดัชนีราคาหลักทรัพย์ในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย | - |
dc.title.alternative | Political stabilization and stock market : a case study of the set index volume in the stock exchange of Thailand | - |
dc.type | Thesis | - |
dc.degree.name | รัฐศาสตรมหาบัณฑิต | - |
dc.degree.level | ปริญญาโท | - |
dc.degree.discipline | การปกครอง | - |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | - |
Appears in Collections: | Grad - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Vutichai_si_front_p.pdf | 2.82 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Vutichai_si_ch1_p.pdf | 2.98 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Vutichai_si_ch2_p.pdf | 13.32 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Vutichai_si_ch3_p.pdf | 13.47 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Vutichai_si_ch4_p.pdf | 23.26 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Vutichai_si_ch5_p.pdf | 4.07 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Vutichai_si_back_p.pdf | 3.87 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.