Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/62497
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorชยากริต ศิริอุปถัมภ์-
dc.contributor.authorศรสม นวเสลา-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2019-07-22T07:50:09Z-
dc.date.available2019-07-22T07:50:09Z-
dc.date.issued2534-
dc.identifier.isbn9745787922-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/62497-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2534-
dc.description.abstractได้ศึกษาการสังเคราะห์นิโคตินกัมมันตรังสี โดยการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อที่ไม่เจริญเป็นส่วนของต้นพืชจากต้นยาสูบพันธุ์ นิโคติอะนาทาแบคคุม สายพันธุ์ เคนทักกิ 14 ที่ผ่านการทำให้ปลอดเชื้อ กับกรดนิโคตินิก-ทริเทียม ซึ่งเตรียมจากการอาบรังสินิวตรอนร่วมกับเกลือลิเทียม ในอาหารเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อแบบวุ้น Murashige – Skoog (M&S) ซึ่งประกอบไปด้วยออกซิน α – napthaleneacetic acid (NAA) 1 ไมโครโมล และไคนิติน 1 ไมโครโมล, ความเป็นกรดด่าง 5.7 ทำการเพาะเลี้ยงภายใต้สภาวะอุณหภูมิ 25±2 องศาเซลเซียส ความชื้นสัมพันธ์ 30 – 40 % ในที่มืด โดยแบ่งการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อเป็น 2 แบบ คือ แบบใต้อาหารครั้งเดียวเมื่อเริ่มต้น (batch) และแบบเปลี่ยนอาหารเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ (Continuous flow) ปรากฏว่าการสังเคราะห์นิโคตินโดยอาศัยการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อแบบให้อาหารครั้งเดียวเมื่อเริ่มต้น จะได้ปริมาณนิโคตินสูงกว่าการสังเคราะห์นิโคตินโดยอาศัยการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อเมื่อเปลี่ยนอาหารเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ 3 ครั้ง ในระยะเวลาเท่ากัน คือ 6 สัปดาห์ จากการทดลองได้ผลผลิตปริมาณนิโคติน-ทริเทียมคิดเป็น 1.15 มิลลิกรัม ต่อ อาหารเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ M&S 30 มิลลิลิตร, อัตราส่วนระหว่าง นิโคตินกับสารตั้งต้น คือ กรดนิโคตินิก เป็น 7.14 %, ความบริสุทธิ์ทางเคมิของนิโคติน-ทริเทียมที่ได้เป็น 72.79 % ไม่พบไอโซโทปรังสิแกมมาและไอโซโทปอื่น ๆ นอกจากทริเทียมปนในผลผลิต ผลผลิตมีความแรงรังสีจำเพาะ 1.18 x 10⁻⁵ คูริต่อมิลลิกรัมนิโคติน ซึ่งสามารถนำไปใช้เป็นสารติดตามได้-
dc.description.abstractalternativeA study of radioactive nicotine synthesis was conducted. Callus tissue without organogenesis, derived from the steriled stem of Nicotina tabacum L.cv. Kentucky 14 was incubated with nicotinic acid H - 3 prepared by irradiation of nicotinic acid and lithium salt with neutron. The Murashige – Skoog (M&S) medium containing 1 µM α – naptha lenacetic acid (NAA) and 1 µM kinetin, ph 5.7 was used. The culture was done as 25±2 C with relative humidity of 30 - 40 % in the darkness. The production of nicotine has been prepared by a two-packed batch and continuous flow system. The nicotine synthysis by continuous flow culture for the culture period of 6 weeks. The maximum accumulation of nicotine H – 3 in the experiment was 1.15 mg./30 ml. of M&S medium. Not more than 7.14 % of the nicotinic acid precursor was found. The purity of nicotine H – 3 was 72.79 %. No gamma and other radioisotope except tritium was found in the prepared nicotine H – 3. The specific activity of the product was 1.18 x 10⁻⁵ Ci/mg. of nicotine and considered to be high enough to be used as a radioactive tracer.-
dc.language.isoth-
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.subjectยาสูบ-
dc.subjectนิโคติน -- การสังเคราะห์-
dc.subjectTobacco-
dc.subjectNicotine -- Synthesis-
dc.titleการศึกษาการสังเคราะห์นิโคตินกัมมันตรังสีจากการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อนิโคติอะนาทาแบคคุม-
dc.title.alternativeStudy of radioactive nicotine synthesis from nicotiana tabacum callus cultures-
dc.typeThesis-
dc.degree.nameวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต-
dc.degree.levelปริญญาโท-
dc.degree.disciplineนิวเคลียร์เทคโนโลยี-
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Sornsome_na_front_p.pdf12.11 MBAdobe PDFView/Open
Sornsome_na_ch1_p.pdf5.68 MBAdobe PDFView/Open
Sornsome_na_ch2_p.pdf23.44 MBAdobe PDFView/Open
Sornsome_na_ch3_p.pdf14.39 MBAdobe PDFView/Open
Sornsome_na_ch4_p.pdf33.55 MBAdobe PDFView/Open
Sornsome_na_ch5_p.pdf8 MBAdobe PDFView/Open
Sornsome_na_back_p.pdf57.09 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.