Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/62505
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorบัณฑิต โรจน์อารยานนท์-
dc.contributor.authorศรัณย์ วิรุตมวงศ์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2019-07-22T09:08:42Z-
dc.date.available2019-07-22T09:08:42Z-
dc.date.issued2526-
dc.identifier.isbn9745618373-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/62505-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2526-
dc.description.abstractวิทยานิพนธ์นี้เป็นการศึกษาการออกแบบระบบและสายอากาศสำหรับสถานีรับในการสื่อสารภายในประเทศผ่านดาวเทียม โดยที่ในส่วนแรกเป็นการศึกษาการออกแบบระบบการส่งสัญญาณโทรทัศน์เพื่อให้การใช้ทรานสปอนเดอร์บนดาวเทียมมีประสิทธิภาพสูง จากการวิเคราะห์และการทดลองโดยใช้ดาวเทียมปาลาป้า A-2 ของประเทศอินโดยนีเซีย ผลปรากฎว่าการส่งสัญญาณโทรทัศน์ 2 ช่องเข้าไปในทรานสปอนเดอร์เดียวกันสามารถทำได้โดยที่ค่า S/N ลดต่ำลงเพียง 2.5 dB เมื่อเปรียบเทียบกับการส่งสัญญาณโทรทัศน์เพียงหนึ่งช่องเข้าไปเต็มทรานสปอนเดอร์ สำหรับการส่งสัญญาณเสียงนั้นจะสามารถส่งได้โดยระบบ Sub-carrier หรือจะใช้วิธีแทรกลงไปในช่องความถี่ที่เหลือในทรานสปอนเดอร์โดยใช้วิธีส่งแบบ SCPC-FM จะได้ค่า S/N สูงกว่า 50 dB ในการส่งทั้งสองแบบดังกล่าวข้างต้น ในส่วนที่สองนั้นเป็นการออกแบบและสร้างสายอากาศรับของสถานีภาคพื้นดิน โดยได้ทำการสร้างสายอากาศแบบ Cassegrain ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 4.5 เมตร โดยใช้วัสดุที่เป็นไฟเบอร์กลาสและบุผิวสะท้อนคลื่นด้วยตาข่ายอลูมิเนียม จากผลการทดลองโดยใช้ดาวเทียมปาลาป้า A-2 โดยการรับสัญญาณโทรทัศน์แบบเต็มทราบสปอนเดอร์ ปรากฎว่าได้ค่า S/N เป็น 44.2 dB ซึ่งเป็นค่าที่สูงเพียงพอในการป้อนให้กับระบบ CATV (Community Antenna Television System)-
dc.description.abstractalternativeIn this thesis, the system and antenna design for a receiving station in domestic satellite communication was investigated. The first part was the study on system design for transmission of television signal through a transponder for maximum efficiency. The result of the analysis was tested on PALAPA A-2 of Indonesia. It was shown that the transmission of two television signals through one transponder gave a Signal to Noise ratio of 2.5 dB lower than the transmission of one television signal through one transponder. Audio signals may to transmitted through subcarrier system or in the surplus space segment by SCPC-FM method. Both methods gave the Signal to Noise ratio of more than 50 dB. The second part was the design and construction of a receiving antenna for ground station using a 4.5 meter diameter Cassegrain antenna using a fibre galss structure with aluminium grid as the reflecting surface. The antenna was tested by receiving television signal from PALAPA A-2 in full transponder arrangement. The Signal to Noise ratio obtained was 44.2 dB which is high enough for CATV System (Community Antenna Television System)-
dc.language.isoth-
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.subjectสายอากาศ -- การออกแบบ-
dc.subjectสถานีภาคพื้นดิน (โทรคมนาคมผ่านดาวเทียม)-
dc.subjectดาวเทียมในโทรคมนาคม-
dc.subjectทรานปอนเดอร์-
dc.titleการออกแบบระบบและสายอากาศสำหรับสถานีรับ ในการสื่อสารภายในประเทศผ่านดาวเทียม-
dc.title.alternativeSystem and antenna design for receiving station in domestic satellite communication-
dc.typeThesis-
dc.degree.nameวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต-
dc.degree.levelปริญญาโท-
dc.degree.disciplineวิศวกรรมไฟฟ้า-
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Saran_vi_front_p.pdf9.98 MBAdobe PDFView/Open
Saran_vi_ch1_p.pdf11.76 MBAdobe PDFView/Open
Saran_vi_ch2_p.pdf18.56 MBAdobe PDFView/Open
Saran_vi_ch3_p.pdf13.95 MBAdobe PDFView/Open
Saran_vi_ch4_p.pdf12.25 MBAdobe PDFView/Open
Saran_vi_ch5_p.pdf27.07 MBAdobe PDFView/Open
Saran_vi_ch6_p.pdf4.86 MBAdobe PDFView/Open
Saran_vi_back_p.pdf37.66 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.