Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/62554
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ไพรัช สายเชื้อ | - |
dc.contributor.author | ศิริพรรณ ชิดบุรี | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย | - |
dc.date.accessioned | 2019-07-31T07:55:11Z | - |
dc.date.available | 2019-07-31T07:55:11Z | - |
dc.date.issued | 2536 | - |
dc.identifier.isbn | 9745833991 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/62554 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2536 | - |
dc.description.abstract | ศึกษาสัตว์ในดินขนาดใหญ่และขนาดกลาง เพื่อประเมินการเปลี่ยนแปลงด้าน ประชากร มวลชีวภาพและชนิดในรอบปี และศึกษาปัจจัยทางสภาวะแวดล้อมเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงลักษณะสมบัติทางเคมีของดิน เช่น C.E.C., Organic matter, Total N, Available P, Exchangeble K, Ca และ Mg, อุณหภูมิ, ความชื้นสัมพัทธ์, ปริมาณน้ำในดินและในลิตเตอร์ และปริมาณลิตเตอร์สะสมบนพื้นดิน โดยทำการเก็บรวบรวมข้อมูลทุกเดือนเป็นเวลา 1 ปี (มิถุนายน 2535 – พฤษภาคม 2536) จากสวนป่ายูคาลิปตัส Eucalyptus camaldulensis ที่จัดหวัดพิษณุโลก ทำการทดลองการย่อยสลายลิตเตอร์ใบยูคาลิปตัส คามาลดูเลนซิส โดยวิธี Litter Bag Method ในช่วงฤดูกาลต่างๆ 2 แบบ คือ แบบที่ 1 ทำการฝังใหม่ทุกครั้งเมื่อเริ่มต้นฤดูกาล และแบบที่ 2 ทำการฝังครั้งเดียวแล้วติดตามผลตลอดปีจากผลการศึกษาสรุปได้ว่า ในฤดูฝนจะมีชนิด ปริมาณและมวลชีวภาพของสัตว์ในดินขนาดใหญ่สูงที่สุดและต่ำที่สุดในฤดูร้อน โดยสัตว์ในดินขนาดใหญ่ที่พบมากที่สุด คือ ปลวก มด แมงมุม แมลงปีกแข็ง และตัวอ่อนของแมลงปีกแข็ง ส่วนสัตว์ในดินขนาดกลางจะมีจำนวนมากที่สุดในช่วงปลายฤดูฝนถึงฤดูหนาว และต่ำที่สุดในช่วงฤดูร้อนถึงต้นฤดูฝนโดยสัตว์ในดินขนาดกลางที่พบมากที่สุด คือ ไรและแมลงหางดีด และเป็นพวกที่มีผลต่อการเพิ่มขึ้นหรือลดลงของจำนวนสัตว์ในดินทั้งหมด สำหรับการทดลองการย่อยสลายลิตเตอร์ใบยูคาลิปตัส พบว่าในฤดูฝนจะมีอัตราการย่อยสลายสูงที่สุด รองลงมาคือ ฤดูหนาวและฤดูร้อน และพบว่ามีความสัมพันธ์เชิงบวกกับจำนวนสัตว์ในดินขนาดกลางที่พบในถุงลิตเตอร์ในการทดลองทั้งสองแบบ | - |
dc.description.abstractalternative | Macro-soilfauna and meso-soilfauna were investigated to understand yearly fluctuation in population, biomass and species composition. Environmental factors concerning soil chemical properties (C.E.C., pH, organic matter, total nitrogen, available phosphorus, exchangeable potassium, calcium and magnesium), temperature, relative humidity, water content and litter accumulation from Eucalyptus camaldulensis plantation at changwat Phistsanulok were collected monthly for a year (June 1992-May 1993). The two experiments of leaf litter decomposition were studied by using the "Litter bag Method" : one was set within the season and the other along a year period. Results showed highest peak of numbers, biomass and species compositions of macro-soilfauna in the rainy season but lowest in summer, and the dominant species were beetles both adult and larval stages, termites, ants, and spiders. The highest numbers of meso-soilfauna were found during the late rainy season to winter and the lowest were in summer to the early part of the rainy season. The dominant species of meso-soilfauna were mites and springtails which influenced on significant change in the total number of soilfauna. The highest rate of leaf litter decomposition was in the rainy season but the lowest in winter and summer. It showed positive correlations between number of meso-soilfauna and leaf litter loss in the "Litter Bag Method". | - |
dc.language.iso | th | - |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | - |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | - |
dc.subject | การย่อยสลายทางชีวภาพ | - |
dc.subject | ฮิวมัส | - |
dc.subject | ยูคาลิปตัส | - |
dc.subject | Biodegradation | - |
dc.subject | Humus | - |
dc.subject | Eucalyptus | - |
dc.subject | Eucalyptus camaldulensis | - |
dc.title | การเปลี่ยนแปลงตามฤดูกาลของสัตว์ในดินและอิทธิพล ที่มีต่อการย่อยสลายอินทรียวัตถุในสวนป่ายูคาลิปตัส Eucaluptus camaldulensis ที่จังหวัดพิษณุโลก | - |
dc.title.alternative | Seasonal fluctuations of soilfauna and its influence on the decomposition of organic matters in Eucalyptus camaldulensis plantation at Changwat Phitsanulok | - |
dc.type | Thesis | - |
dc.degree.name | วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต | - |
dc.degree.level | ปริญญาโท | - |
dc.degree.discipline | วิทยาศาสตร์สภาวะแวดล้อม (สหสาขาวิชา) | - |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | - |
Appears in Collections: | Grad - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Siripun_ch_front_p.pdf | 4.13 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Siripun_ch_ch1_p.pdf | 2.47 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Siripun_ch_ch2_p.pdf | 13.94 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Siripun_ch_ch3_p.pdf | 4.09 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Siripun_ch_ch4_p.pdf | 9.61 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Siripun_ch_ch5_p.pdf | 9.81 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Siripun_ch_ch6_p.pdf | 1.66 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Siripun_ch_back_p.pdf | 11.14 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.