Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/62555
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorเกียรติ จิวะกุล-
dc.contributor.authorศิริพรรณ ทองเจิม-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2019-07-31T08:03:57Z-
dc.date.available2019-07-31T08:03:57Z-
dc.date.issued2531-
dc.identifier.isbn9745695866-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/62555-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ผ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2531-
dc.description.abstractการศึกษาวิจัยครั้งนี้ ได้คัดเลือกพื้นที่ฉะเชิงเทรา และนครปฐม อันเป็นส่วนหนึ่งของพื้นที่โครงการชายฝั่งทะเลภาคตะวันออกและเขตปริมณฑลของ กทม. ตามแผนพัฒนาประเทศฯ จะเป็นพื้นที่พัฒนาเพื่อที่จะแก้ไขปัญหาความแออัดในกรุงเทพมหานคร ในนโยบายกระจายความเจริญสู่ภูมิภาคส่วนหนึ่ง กับการเป็นการส่งเสริมพื้นที่เกษตรกรรมที่มีศักยภาพในการพัฒนาด้านการเลี้ยงสัตว์ อันมีผลกระตุ้นให้เกิดการพัฒนาอุตสาหกรรมเกษตร และการส่งออกของประเทศ ผลการศึกษาวิจัยพบว่า นครปฐม และฉะเชิงเทรา เป็นแหล่งผลิตสุกรที่ใหญ่เป็นอันดับที่ 1 และ 2 ของประเทศ ซึ่งตั้งอยู่ใกล้ตลาดการบริโภคที่ใหญ่ที่สุดคือ กทม. ส่วนปริมาณการผลิตในตลาดการค้าสุกรที่สูงขึ้นหรือลดลงพบว่า ขึ้นอยู่กับราคาวัตถุดิบ อาหารสัตว์ ที่เปลี่ยนแปลงผกผันกับปริมาณการผลิต และรวมถึงราคาสุกรมีชีวิตที่เกษตรกรขายได้ ตลอดจนราคาสุกรมีชีวิตและราคาเนื้อสุกรชำแหละที่ตลาดกลาง กทม. ซึ่งเป็นแรงดึงดูดให้ปริมาณการผลิตแปรผันตามการเปลี่ยนแปลงของราคา การวิจัยพบว่าการขนส่งผลผลิตสู่ตลาดกลาง กทม. ของนครปฐมมีค่าโสหุ้ยการขนส่งผลผลิตตั้งแต่สุกรมีชีวิตจนถึงในรูปสุกรชำแหละต่ำกว่าฉะเชิงเทรา เป็นผลให้นครปฐมมีอาณาเขตตลาดการค้าสุกรกว้างใหญ่กว่าฉะเชิงเทราด้วย สำหรับการขนส่งผลผลิตในรูปเนื้อชำแหละจะเสียค่าใช้จ่ายต่ำกว่าการขนส่งสุกรมีชีวิต ประมาณ 0.93 บาท/กิโลกรัม หรือ 6,510 บาท/รถบบรทุก จากการศึกษาดังกล่าวพอจะสรุปเป็นข้อเสนอแนะถึงโอกาสในการตั้งโรงฆ่าสัตว์ เพื่อผลิตเนื้อสุกรชำแหละแหล่งใหม่ ณ บริเวณด้านตะวันออกของ กทม. ซึ่งเป็นที่ตั้งที่เหมาะสม ได้แก่บริเวณลาดกระบัง-รังสิต และพื้นที่ค่อนไปทางนครนายก จะช่วยลดค่าใช้จ่ายด้านต้นทุนการขนส่งสุกรมีชีวิต และลดความแออัด ตลอดจนความไม่เหมาะสมในสภาพแวดล้อมบริเวณโรงฆ่าสัตว์ที่มีอยู่ปัจจุบันใน กทม. อันเป็นการช่วยพัฒนาสินค้าส่งออกเนื้อสุกร และผลิตภัณฑ์ที่เกี่ยวเนื่อง และสามารถขนส่งโดยระบบถนน ทางรถไฟ และท่าเรือน้ำลึกอันเป็นการเสริมโครงการพัฒนาพื้นที่ชายฝั่งทะเลตะวันออกอีกทางหนึ่งด้วย-
dc.description.abstractalternativeTo study this thesis, the researcher selected Chachoensao and Nakhon Pathom for the area of study because these two provinces are in the Eastern Seaboard Development Project and they are in the Bangkok Metropolitan Region (BMR.) which are developed to solve the Bangkok distribution and its environment by the governmental decentralize policy. Another purpose is to promote the potential agricultural livestocks and the export processing industries of Country. The result was found that Nakhon Pathom and Chachoensao were the first and second of the swine production of the Country respectively. Their locations were very near Bangkok, the largest market area of Country. The supply of swine markets vary on the price of raw materials and swine foods which they were reversed by their amount of production, the price of swines and their pegs. To find that the swine productive transportation cost of Nakhon Pathom is lower than Chachoensao therefore the Nakhon Pathom area market is larger than the Chachoensao. Furthermore the transport cost for peg from Nakhon Pathom is lower than 0.93 Baht/kilogram or 6,510 Bath/truck. The conclusion is proposed for the new slaughter-houses that the best location is in the Eastern of Bangkok, Ladkrabang, Langsit and the area up to Nakorn Nayok which they can minimize the swine transport cost and reduce and inappropriate environment of the slaughter-house in Bangkok. It will develop the swine exports and their productive be transported by railway and port systems of the Eastern Seaboard Development Project.-
dc.language.isoth-
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.subjectฟาร์มสุกร -- สถานที่ตั้ง-
dc.subjectสุกร -- การเลี้ยง-
dc.subjectการเลือกสถานที่ตั้ง-
dc.subjectอุตสาหกรรม -- สถานที่ตั้ง-
dc.subjectฉะเชิงเทรา-
dc.subjectนครปฐม-
dc.titleการศึกษาเปรียบเทียบปัจจัยการเลือกที่ตั้งในการทำฟาร์มสุกร เพื่อการค้าระหว่างฉะเชิงเทรากับนครปฐม-
dc.title.alternativeComparative study of locational factors for commercial swine farming the Chachoensao and Nakhon Pathom-
dc.typeThesis-
dc.degree.nameการวางแผนภาคและเมืองมหาบัณฑิต-
dc.degree.levelปริญญาโท-
dc.degree.disciplineการวางแผนภาค-
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Siriphan_th_front_p.pdf9.77 MBAdobe PDFView/Open
Siriphan_th_ch1_p.pdf4.12 MBAdobe PDFView/Open
Siriphan_th_ch2_p.pdf6.58 MBAdobe PDFView/Open
Siriphan_th_ch3_p.pdf14.97 MBAdobe PDFView/Open
Siriphan_th_ch4_p.pdf12.95 MBAdobe PDFView/Open
Siriphan_th_ch5_p.pdf24.41 MBAdobe PDFView/Open
Siriphan_th_ch6_p.pdf11.62 MBAdobe PDFView/Open
Siriphan_th_back_p.pdf20.62 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.