Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/62562
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสรชัย พิศาลบุตร-
dc.contributor.authorศิริมา วงศ์แสง-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2019-07-31T09:42:43Z-
dc.date.available2019-07-31T09:42:43Z-
dc.date.issued2531-
dc.identifier.isbn9745693332-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/62562-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (สต.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2531-
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ที่จะศึกษาเปรียบเทียบการทดสอบความเท่ากันของสัมประสิทธ์ความถดถอยเชิงเส้นเมื่อความแปรปรวนสุ่มไม่เท่ากันของวิธีทดสอบ 3 วิธี คือ วิธีทดสอบเชา วิธีทดสอบโทโยดา และวิธีทดสอบเซลเนอร์-ธีล-กุปตา ข้อมูลที่ใช้ได้จากการจำลองด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์โดยใช้เทคนิคมอนติคาร์โล ทำการศึกษาเมื่ออัตราส่วนความแปรปรวนของความคลาดเคลื่อนประชากรที่ 1 : ประชากรที่ 2 เป็น 1:20 1:10 1:5 1:3 1:2 1:1 2:1 3:1 5:1 10:1 และ 20:1 จำนวนตัวแปรอิสระเป็น 2 3 4 และ 5 ขนาดตัวอย่างที่ศึกษา เมื่อขนาดตัวอย่างเท่ากันเป็น (20 20) (30 30) (50 50) ขนาดตัวอย่างไม่เท่ากันเป็น (20 30) (20 50) (30 50) ระดับนัยสำคัญ .01 และ .05 ผลจากการศึกษาเปรียบเทียบความแกร่งของการทดสอบและอำนาจการทดสอบ พบว่า กรณีขนาดตัวอย่างเท่ากัน วิธีทดสอบเซลเนอร์-ธีล-กุปตา เป็นวิธีทดสอบที่ดีที่สุด วิธีทดสอบเชาและวิธีทดสอบโทโยดา เป็นวิธีทดสอบรองลงมาตามลำดับ กรณีขนาดตัวอย่างไม่เท่ากัน วิธีทดสอบเซลเนอร์-ธีล-กุปตาเป็นวิธีทดสอบที่ดีที่สุด วิธีทดสอบโทโยตาและวิธีทดสอบเชา รองลงมาตามลำดับ เมื่อพิจารณาแล้วทั้งกรณีขนาดตัวอย่างเท่ากันและไม่เท่ากัน สรุปได้ว่า วิธีทดสอบเซลเนอร์-ธีล-กุปตา เป็นวิธีทดสอบที่ดีที่สุด วิธีทดสอบเชาและวิธีทดสอบโทโยดา รองลงมาตามลำดับ-
dc.description.abstractalternativeThe objective of this study is to investigate the test statistics for testing of equality of regression coefficients when variance of errors are unequal. This thesis provides with a comparative study of 3 test statistics namely : the Chow Test, The Toyoda Test and the Zellner-Theil-Gupta Test. The data for this experiment was obtained through simulation by using Monte Carlo Technique. The study was carried out for the ratios of variance of errors for population 1 to population 2 are 1:20 , 1:10, 1:5, 1:3, 1:2, 1:1, 2:1, 3:1, 5;1, 10:1, and 20:1, by using the number of independent variables of 2, 3, 4 and 5. It was also studied for the equal sample sizes of (20,20), (30,30), (50,50) and the unequal sample sizes of (20,30), (20,50), (30,50) at the significant level of .01 and .05. From the result of the study of Robusness and Power of the test, it was suggested that in the case of the equal sample sizes. The Zellner-Theil-Gupta test is the best, the Chow test is better than the Toyoda test respectively. For The unequal sample sizes, the Zellner-Theil-Gupta-test is the best, The Toyoda test is better than The Chow test. In conclusion, both equal and unequal sample sizes, the Zellner-Theil-Gupta is the best, followed by the Chow Test and The Yoyoda Test.-
dc.language.isoth-
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.subjectตัวแปรอิสระ-
dc.subjectวิธีกำลังสองน้อยที่สุด-
dc.subjectสัมประสิทธิ์ความถดถอยเชิงเส้น-
dc.subjectการวิเคราะห์ความแปรปรวน-
dc.subjectสถิติทดสอบ-
dc.subjectการทดสอบสมมติฐาน-
dc.subjectการวิเคราะห์ความคลาดเคลื่อน (คณิตศาสตร์)-
dc.subjectอำนาจการทดสอบ-
dc.subjectวิธีมอนติคาร์โล-
dc.titleการทดสอบความเท่ากันของสัมประสิทธิ์ความถดถอย เมื่อความแปรปรวนสุ่มไม่เท่ากัน-
dc.title.alternativeTests of equality of regression coefficients when variance of errors are unequal-
dc.typeThesis-
dc.degree.nameสถิติศาสตรมหาบัณฑิต-
dc.degree.levelปริญญาโท-
dc.degree.disciplineสถิติ-
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Sirima_wo_front_p.pdf3.66 MBAdobe PDFView/Open
Sirima_wo_ch1_p.pdf2.25 MBAdobe PDFView/Open
Sirima_wo_ch2_p.pdf3.38 MBAdobe PDFView/Open
Sirima_wo_ch3_p.pdf3.17 MBAdobe PDFView/Open
Sirima_wo_ch4_p.pdf18.26 MBAdobe PDFView/Open
Sirima_wo_ch5_p.pdf1.65 MBAdobe PDFView/Open
Sirima_wo_back_p.pdf25.85 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.