Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/62573
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorธรรมนูญ โรจนะบุรานนท์-
dc.contributor.advisorนันทนา สันตติวุฒิ-
dc.contributor.advisorธีรวัชร อินทรสูต-
dc.contributor.authorศิริรัตน์ ชาญไววิทย์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2019-08-01T07:18:08Z-
dc.date.available2019-08-01T07:18:08Z-
dc.date.issued2536-
dc.identifier.isbn9745831255-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/62573-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2536-
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้มีจุดมุ่งหมาย เพื่อวิเคราะห์การปนเปื้อนของน้ำชะขยะที่มีต่อน้ำบ่อตื้นและน้ำบาดาลในระยะห่าง 12 กิโลเมตรรอบกองขยะตามวิธีมาตรฐานของ APHA-AWWA-WPCF, 1989 ผลการศึกษาพบว่า มีการปนเปื้อนของสารมลพิษในน้ำบ่อตื้นบริเวณสถานที่ทิ้งขยะของเทศบาล ในปริมาณที่ค่อนข้างสูงเมื่อเทียบกับมาตรฐานน้ำบริโภคในชนบทและมาตรฐานน้ำดื่มขององค์การอนามัยโลกปี 1984 มลสารที่พบว่าปนเปื้อน ได้แก่ คลอไรด์ ซัลเฟต แอมโมเนียไนโตรเจน เหล็ก แมงกานีส ตะกั่ว แคดเมียม และแบคทีเรีย ส่วนน้ำบาดาลบริเวณที่ศึกษาไม่ถูกปนเปื้อน สำหรับน้ำในแอ่งน้ำข้างกองขยะมีการปนเปื้อนของแอมโมเนีย ไนโตรเจน และตะกั่ว สูงเกินมาตรฐานคุณภาพแหล่งน้ำผิวดินที่ไม่ใช่ทะเลของสำนักงานคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ นอกจากนี้ ยังได้ขุดเจาะบ่อสำรวจบริเวณหลังผ่านกองขยะในทิศทางการไหลของน้ำใต้ดิน เพื่อหาความสัมพันธ์ระหว่างระยะทางและคุณภาพน้ำ ผลปรากฎว่า น้ำชะขยะสามารถปนเปื้อนไปได้ไกลไม่เกิน 100 เมตร จากสถานที่ทิ้งขยะของเทศบาลเมืองหาดใหญ่-
dc.description.abstractalternativeThe objective of this study was designed to analyse leachate contamination in subsurface water by using the standard method (APHA-AWWA-WPCF, 1989) Water samples collected from shallow wells and deep wells 12 kilometers around the disposal site. The results showed that shallow wells water in the disposal site were contaminated by chloride, sulfate, ammonia nitrogen, iron, manganese, cadmium, and bacteria excluding the deep well whereas surface water was contaminated by ammonia nitrogen and lead over the Surface Water Quality Standard. However, the relationships between distance in the same direction of group water flow and water quality from auger holes suggested that leachate could not contaminate more than 100 meters away from Hat Yai disposal site.-
dc.language.isoth-
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.subjectน้ำใต้ดิน -- คุณภาพ -- ไทย -- สงขลา -- หาดใหญ่-
dc.subjectน้ำชะขยะ-
dc.subjectGroundwater -- Quality -- Thailand -- Songkhla -- Hat Yai-
dc.subjectLeachate-
dc.titleผลกระทบของน้ำชะขยะต่อคุณภาพน้ำใต้ดินในอำเภอหาดใหญ่-
dc.title.alternativeImpact of leachate on subsurface water quality in Amphoe Hat Yai-
dc.typeThesis-
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต-
dc.degree.levelปริญญาโท-
dc.degree.disciplineวิทยาศาสตร์สภาวะแวดล้อม (สหสาขาวิชา)-
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Sirirat_cha_front_p.pdf4.66 MBAdobe PDFView/Open
Sirirat_cha_ch1_p.pdf4.4 MBAdobe PDFView/Open
Sirirat_cha_ch2_p.pdf4.94 MBAdobe PDFView/Open
Sirirat_cha_ch3_p.pdf3.36 MBAdobe PDFView/Open
Sirirat_cha_ch4_p.pdf9.73 MBAdobe PDFView/Open
Sirirat_cha_ch5_p.pdf6.15 MBAdobe PDFView/Open
Sirirat_cha_ch6_p.pdf1.5 MBAdobe PDFView/Open
Sirirat_cha_back_p.pdf5.44 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.