Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/62594
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorมาโนช โลหเตปานนท์-
dc.contributor.authorอุบลวรรณ อ้นโต-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2019-08-07T09:42:38Z-
dc.date.available2019-08-07T09:42:38Z-
dc.date.issued2551-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/62594-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2551en_US
dc.description.abstractวิทยานิพนธ์ฉบับนี้เป็นการประยุกต์ใช้การผลิตแบบลีนในอุตสาหกรรมการผลิตยางรถยนต์ โดยมีวัตถุประสงค์ คือ เพื่อเป็นแนวทางของการประยุกต์ใช้การผลิตแบบลีนในอุตสาหกรรมการผลิตยางรถยนต์ โดยการสร้างแผนภูมิคุณค่าสถานะปัจจุบัน เพื่อช่วยจำแนกคุณค่าของกระบวนการผลิต ร่วมกับการสร้างแบบจำลองสถานการณ์ระบบการผลิตปัจจุบัน เพื่อใช้ในการวิเคราะห์ทางเลือก, ประเมินผลและพัฒนาแผนภูมิสายธารคุณค่าสถานะอนาคต งานวิจัยนี้จะใช้การประเมินผลโดยการการจำลองในแบบจำลองสถานการณ์ระบบในอนาคต โดยนำเครื่องมือและเทคนิคของระบบการผลิตแบบลีนมาประยุกต์ใช้ ซึ่งระบบการผลิตแบบลีนที่นำมาประยุกต์มีทั้งสิ้น 3 เทคนิค ได้แก่ การผลิตแบบไหลทีละชิ้นหรือการไหลอย่างต่อเนื่อง การบำรุงรักษาแบบทุกคนมีส่วนรวมและการลดเวลาการปรับตั้งเครื่องจักร จากผลของการจำลองสถานการณ์ในการขจัดความสูญเปล่าสามารถ ลดระยะเวลาการผลิตรวมเดิมจาก 16.20 วัน ลงเหลือเพียง 12.73 วันหรือคิดเป็นร้อยละ 21.42 จากนั้นนำการผลที่ได้จากการจำลองสถานการณ์ระบบในอนาคต มาดำเนินการสร้างเป็นแผนภูมิคุณค่าสถานะอนาคตen_US
dc.description.abstractalternativeThis thesis is a case study in applying lean manufacturing in tires manufacturing. The purpose of this thesis is to be guideline in applying knowledge of lean manufacturing in tires production by using lean tools and techniques. Those tools and techniques are value stream mapping for manufacturing process. The simulation model is used for option analysis, evaluation and modification of the value stream mapping. In this thesis, the future manufacturing process is evaluated by implementing the knowledge of lean manufacturing and analysis the result by using the simulation model. The results from the simulation are as followings. Production lead time is reduced from 16.20 days to 12.73 days or decreasing by 21.42%. Then based on the result, a new value stream mapping: future state map is developed.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2008.540-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectอุตสาหกรรมยางรถen_US
dc.subjectอุตสาหกรรมยางรถ -- แบบจำลองทางคอมพิวเตอร์en_US
dc.subjectแบบจำลองทางคอมพิวเตอร์en_US
dc.subjectการผลิตแบบลีน -- การจำลองระบบen_US
dc.subjectมูลค่า (เศรษฐศาสตร์)en_US
dc.subjectTire industryen_US
dc.subjectTire industry -- Computer simulationen_US
dc.subjectComputer simulationen_US
dc.subjectLean manufacturing -- Simulation methodsen_US
dc.subjectValueen_US
dc.titleการประยุกต์ใช้ระบบการผลิตแบบลีนและผังคุณค่าโดยการจำลองสถานการณ์ในการผลิตยางรถยนต์en_US
dc.title.alternativeThe application of lean manufacturing and value stream mapping in tyre production units via simulationen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineการจัดการด้านโลจิสติกส์ (สหสาขาวิชา)en_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorManoj.L@Chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2008.540-
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Ubonwan Aonto.pdf2.09 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.