Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/62687
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | บวรศักดิ์ อุวรรณโณ | - |
dc.contributor.advisor | วิษณุ เครืองาม | - |
dc.contributor.author | สมใจ เกษรศิริเจริญ | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย | - |
dc.date.accessioned | 2019-08-14T03:51:01Z | - |
dc.date.available | 2019-08-14T03:51:01Z | - |
dc.date.issued | 2531 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/62687 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (น.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2531 | - |
dc.description.abstract | การดำเนินการสืบสวนสอบสวนของคณะกรรมการ ปปป. กรณีเจ้าหน้าที่ของรัฐกระทำการทุจริตและประพฤติมิชอบในวงราชการ ไม่สามารถบรรลุผลอย่างมีประสิทธิภาพได้สมเจตนารมณ์ของพระราชบัญญัติป้องกันและปราบปรามการทุจริตและประพฤติมิชอบในวงราชการ พ.ศ. 2518 และตามความคาดหมายของประชาชนมาจากปัจจัยหลายประการ จากการศึกษาพบว่าสาเหตุประการหนึ่งมาจากบทบัญญัติในพระราชบัญญัติดังกล่าวยังมิได้เอื้ออำนวยต่อการสืบสวนของคณะกรรมการ ปปป. ให้ได้ผลอย่างจริงจังแม้ได้มีการแก้ไขกฎหมายดังกล่าวอีกครั้งหนึ่งแล้วในปี 2530 ก็ตาม ทั้งนี้เพราะยังมิได้มีการแก้ไขกฎหมายดังกล่าวให้ครอบคลุมถึงประเด็นบางประการ เช่น การเน้นความสำคัญของการสืบสวนสอบสวนการทุจริตและประพฤติมิชอบในวงราชการซึ่งเป็นความผิดอาญา การกำหนดหลักเกณฑ์การคัดเลือกและคุณสมบัติอันจำเป็นแก่การสืบสวนสอบสวนของกรรมการ ปปป. และอนุกรมการ ปปป. การให้อำนาจที่จำเป็นในการสืบสวนสอบสวน ตลอดจนอำนาจและหลักประกันในการดำรงตำแหน่งของเลขาธิการคณะกรรมการ ปปป. ยิ่งกว่านั้นเมื่อได้ส่งเรื่องซึ่งมีมูลความผิดให้แก่พนักงานสอบสวน คณะกรรมการ ปปป. ก็ไม่มีอำนาจโต้แย้งความเห็นพนักงานสอบสวน หรือพนักงานอัยการ นอกจากนี้เจ้าหน้าที่สืบสวนสอบสวนของสำนักงาน ปปป.ยังมิได้มีการพัฒนาให้มีประสิทธิภาพในการสืบสวนสอบสวนอย่างเต็มที่ จากปัญหาดังกล่าว จึงควรมีการแก้ไขปรับปรุงพระราชบัญญัติป้องกันและปราบปรามการทุจริตและประพฤติมิชอบในวงราชการฯ ให้ครอบคลุมถึงประเด็นที่ได้กล่าวมาแล้วข้างต้น และพัฒนาบุคลากรของสำนักงาน ปปป. ให้มีความรู้ความสามารถในการสืบสวนสอบสวนมากขึ้น | - |
dc.description.abstractalternative | The reason that the investigation, over the government officials’ committing corruption in their office, undertaken by the Commission of Counter Corruption (C.C.C.) not being able to effectively attain the objective laid down in the Counter Corruption Act B.E. 2518 are various. According to this research, the fact that the provisions of this Act, though amended once in B.E. 2530, don’t fully facilitate the investigation of the C.C.C. constitutes one of the major factors. In fact, the amendment of this Act doesn’t cover some important aspects such as it doesn’t - emphasize the importance of the C.C.C. ‘s investigation over the government official corruption which constitutes the criminal offence - determine the criteria for the selection and qualifications of the C.C.C. and its sub-committees’ members necessary to carry out efficiently the investigation - grant enough powers to the C.C.C. for the investigation - confer adequate authorities to the Secretary-General and provide guaranties in securing him in holding office. Moreover, after handling the case to the inquiry official, the C.C.C. can’t make any objection to the inquiry official or public prosecutor’s opinion. Besides the investigators of the office of the C.C.C. are not well trained enough to perform their duties efficiently. To cope with these problems, it’s highly recommended that the present Counter Corruption Act should be amended in consideration of all the aspects mentioned above and the personnel of the O.C.C.C. should be better trained in order to gain more knowledge and experience in the investigation. | - |
dc.language.iso | th | - |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | - |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | - |
dc.subject | การทุจริตและประพฤติมิชอบในวงราชการ | - |
dc.subject | การสืบสวนสอบสวน | - |
dc.title | การสืบสวนสอบสวนของ ป.ป.ป.กรณีทุจริตและประพฤติมิชอบในวงราชการ | - |
dc.title.alternative | Investigation of C.C.C. on corruption | - |
dc.type | Thesis | - |
dc.degree.name | นิติศาสตรมหาบัณฑิต | - |
dc.degree.level | ปริญญาโท | - |
dc.degree.discipline | นิติศาสตร์ | - |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | - |
Appears in Collections: | Grad - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Somjai_ke_front_p.pdf | 4.59 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Somjai_ke_ch1_p.pdf | 10.27 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Somjai_ke_ch2_p.pdf | 23.77 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Somjai_ke_ch3_p.pdf | 20.71 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Somjai_ke_ch4_p.pdf | 8.98 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Somjai_ke_ch5_p.pdf | 13.92 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Somjai_ke_ch6_p.pdf | 14.56 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Somjai_ke_ch7_p.pdf | 5.36 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Somjai_ke_back_p.pdf | 2.76 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.