Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/6269
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสรวิศ นฤปิติ-
dc.contributor.authorปนัสย์ พุกโพธิ์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์-
dc.date.accessioned2008-03-19T01:35:10Z-
dc.date.available2008-03-19T01:35:10Z-
dc.date.issued2542-
dc.identifier.isbn9743348247-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/6269-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2542en
dc.description.abstractหาวิธีการควบคุมสัญญาณไฟที่เหมาะสมกับสภาพการจราจรที่มีปริมาณการจราจรไม่คงที่โดยใช้โปรแกรมจำลองสภาพการจราจร 2 โปรแกรม คือ โปรแกรม TRANSYT-7F และโปรแกรม CORSIM การควบคุมสัญญาณไฟในสภาพการจราจรคงที่นั้นเป็นการทดสอบวิธีการจัดสัญญาณไฟสี่แบบที่คำนวณจากข้อมูลปริมาณการจราจรในอดีต ข้อมูลปริมาณการจราจรในอดีตร่วมกับการเพิ่มขึ้นของยวดยานบนถนนสายหลัก ข้อมูลการจราจรจากตัววัดปริมาณการจราจรและที่ว่างหลังแถวคอยของทางแยกถัดไป วิธีการจัดสัญญาณไฟดังกล่าวยังนำไปทดสอบในสภาพการจราจรเปลี่ยนแปลง และเพิ่มวิธีการควบคุมโดยคำนวณจากข้อมูลปริมาณการจราจรในอดีตเฉลี่ยเพิ่มขึ้นอีกหนึ่งวิธี ผลจากการจำลองสภาพการจราจรพบว่า โปรแกรม TRANSYT-7F ไม่สามารถใช้ได้กับกรณีที่มีปริมาณการจราจรสูงกว่าความสามารถในการให้บริการของทางแยกและกรณีที่มีปริมาณการจราจรเปลี่ยนแปลง ส่วนการจำลองสภาพการจราจรโดยใช้โปรแกรม CORSIM ให้ผลลัพธ์ว่า ในสภาพการจราจรคงที่วิธีการควบคุมสัญญาณไฟที่ใช้ข้อมูลปริมาณการจราจรในอดีตและให้ความสำคัญกับยวดยานบนถนนสายหลักเป็นวิธีการควบคุมสัญญาณไฟที่มีความล่าช้าต่ำที่สุดเมื่อมีปริมาณการจราจรเบาบาง แต่ถ้ามีปริมาณการจราจรหนาแน่นขึ้นจนถึงระดับปริมาณการจราจรอิ่มตัวการควบคุมสัญญาณไฟที่ใช้ที่ว่างหลังแถวคอยของทางแยกถัดไปเป็นวิธีการควบคุมสัญญาณไฟที่มีความล่าช้าต่ำที่สุด ส่วนในสภาพการจราจรเปลี่ยนแปลงตามเวลาวิธีการควบคุมสัญญาณที่ใช้ข้อมูลปริมาณการจราจรในอดีตเฉลี่ยเป็น วิธีการควบคุมสัญญาณไฟที่สามารถรองรับความผันแปรได้ดีที่สุดในแง่ของความล่าช้าทั้งกรณีที่มีและไม่มีแถวคอยยาวย้อนกลับไปบดบังทางแยกถัดไปen
dc.description.abstractalternativeExplores an appropriate signal control for a varying traffic volume condition using traffic simulation programs: TRANSYT-7F and CORSIM. The four signal controls are determined for constant trafffic conditions based on the traffic volume in the past, the traffic volume in the past with progression on arterial. The traffic volume from detectors and the downstream reserved capacity. Meanwhile in the time-dependent traffic conditions, the four signal controls and the additional average traffic volume in the past control technique are applied. The results shown that the TRANSYT-7F can not be applied in saturated traffic conditions and time-dependent traffic conditions, whereas the CORSIM can be employed in these problems appropriately. In constant traffic conditions, the signal control considering the past traffic volume and progression on the main street yields the best result in delay minimization, when the traffic level is low. In heavier traffic up to the saturation, the signal control considering the queuestorage capacity gives the highest performance. When the level of traffic varies, the signal setting with past average traffic information is best in handling the congestion, both with and without the spillback.en
dc.format.extent23580753 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectเครื่องหมายจราจรen
dc.subjectจราจร -- การจำลองระบบen
dc.subjectสัญญาณไฟจราจร -- การควบคุมen
dc.titleการควบคุมสัญญาณไฟในสภาพการจราจรอิ่มตัวและเปลี่ยนแปลงตามเวลาen
dc.title.alternativeSignal control in time-dependent saturated traffic conditionsen
dc.typeThesises
dc.degree.nameวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineวิศวกรรมโยธาes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorSorawit.N@Chula.ac.th, kong@chula.ac.th-
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Panat_Po.pdf23.03 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.