Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/62723
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorจิระภา สุทธิพันธ์-
dc.contributor.authorสาวนะ พบสุข-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2019-08-19T02:38:15Z-
dc.date.available2019-08-19T02:38:15Z-
dc.date.issued2536-
dc.identifier.isbn9745826774-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/62723-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2536-
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบทัศนคติของครูผู้สอนเด็กอนุบาลและผู้บริหารสถานศึกษา ที่มีต่อเด็กปัญญาอ่อนและการจัดการเรียนร่วม ระหว่างโรงเรียนอนุบาลที่มีเด็กปัญญาอ่อนเรียนร่วม กับ โรงเรียนอนุบาลปกติ และศึกษาปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับทัศนคติของครูผู้สอน เด็กอนุบาลและผู้บริหารสถานศึกษาที่มีต่อเด็กปัญญาอ่อนและการจัดการเรียนร่วม ประชากรเป็นครูและผู้บริหารสถานศึกษาโรงเรียนอนุบาลที่มีและไม่มีเด็กปัญญาอ่อนเรียนร่วม จำนวน 78 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยคือ แบบสอบถามและแบบสัมภาษณ์ที่ผู้วิจัยสร้างขึ้น วิเคราะห์ข้อมูลด้วยเครื่อคอมพิวเตอร์โปรแกรม SPSS (Statistical Package for Social Science) ผลการวิจัยพบว่า ครูและผู้บริหารสถานศึกษาระหว่างโรงเรียนอนุบาลที่มีเด็กปัญญาอ่อนเรียนร่วมกับ โรงเรียนอนุบาลปกติ มีทัศนคติต่อเด็กปัญญาอ่อนและภารจัดการเรียนร่วมแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และ .01 ตามลำดับ ครูและผู้บริหารสถานศึกษาระหว่างกลุ่มที่มีและไม่มีประสบการณ์สอนหรือประสบการณ์ที่เกี่ยวข้องกับเด็กปัญญาอ่อน มีทัศนคติต่อเด็กปัญญาอ่อนและการจัดการเรียนร่วมแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และ .01 ตามลำดับ ส่วนครูและผู้บริหารสถานศึกษาในกลุ่มโรงเรียนเดียวกัน และครูกับผู้บริหารสถานศึกษาที่มีวุฒิการศึกาต่างกัน มีทัศนคติต่อเด็กปัญญาอ่อนและการจัดการเรียนร่วมแตกต่างกันอย่างไม่นัยสำคัญทางสถิติ-
dc.description.abstractalternativeThis study has the objective to compare the attitudes of teachers and administrators towards children with mental retardation and education integration. Factors related to the attitudes of teachers and administrators towards children with mental retardation and education integration are also studied. Subjects are teachers and administrators in normal kindergartens and kindergartens which apply the concepts of education integration. Data is collected by questionnaire and interview instruments. SPSS programe is used in data analysis. The result shows significantly different attitudes between teachers and administrators in kindergartens which apply the concepts of education integration and the normal kindergartens (P<.05, P<.01). Experienced and inexperienced teachers and administrators, as related to children with mental retardation, have different attitudes (P<.05, P<.01) Attitudes difference between teachers and administrators in the same school group and that between teachers and administrators of different educational backgrounds are statistically insignificant (P>.05).-
dc.language.isoth-
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.subjectเด็กปัญญาอ่อน-
dc.subjectครู -- ทัศนคติ-
dc.subjectผู้บริหารโรงเรียน -- ทัศนคติ-
dc.subjectPeople with mental disabilities-
dc.subjectTeachers -- Attitudes-
dc.subjectSchool administrators -- Attitudes-
dc.titleทัศนคติของครูและผู้บริหารสถานศึกษาที่มีต่อเด็กปัญญาอ่อน และการจัดการเรียนร่วม-
dc.title.alternativeAttitudes of teachers and administrators towards children with mental retardation and education integration-
dc.typeThesis-
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต-
dc.degree.levelปริญญาโท-
dc.degree.disciplineจิตเวชศาสตร์-
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Sawana_po_front_p.pdf3.2 MBAdobe PDFView/Open
Sawana_po_ch1_p.pdf4.5 MBAdobe PDFView/Open
Sawana_po_ch2_p.pdf13.12 MBAdobe PDFView/Open
Sawana_po_ch3_p.pdf3.53 MBAdobe PDFView/Open
Sawana_po_ch4_p.pdf8.72 MBAdobe PDFView/Open
Sawana_po_ch5_p.pdf8.23 MBAdobe PDFView/Open
Sawana_po_back_p.pdf6.7 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.