Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/6273
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorเชาวเลิศ เลิศชโลฬาร-
dc.contributor.advisorน้อมศรี เคท-
dc.contributor.authorปิยาพร ขาวสอาด-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะครุศาสตร์-
dc.date.accessioned2008-03-19T01:51:29Z-
dc.date.available2008-03-19T01:51:29Z-
dc.date.issued2548-
dc.identifier.isbn9745329924-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/6273-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ค.ด.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2548en
dc.description.abstractศึกษาผลของการเรียนรู้เทคโนโลยีสารสนเทศโดยการโต้ยังด้วยเหตุผล ที่ใช้เทคนิคการคิดนอกกรอบแบบการเปลี่ยนแปลงจากภายใน และแบบการเปลี่ยนแปลงจากภายนอกที่มีต่อการคิดวิเคราะห์ และการคิดสร้างสรรค์ของนักเรียนที่มีแบบการติดแบบฟิลด์ ดิเพนเดนท์, ฟิลด์ อินดิเพนเดนท์ และแบบกลาง เทคนิคการคิดนอกกรอบที่ใช้ได้แก่ เทคนิคการคิดนอกกรอบแบบการเปลี่ยนแปลงจากภายใน และแบบการเปลี่ยนแปลงจากภายนอกกลุ่มตัวอย่างเป็นนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนพญาไท ปีการศึกษา 2547 จำนวน 88 คน วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ สถิติ t-test, ANOVA และ ANCOVA ที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติ .05 ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ 1) นักเรียนที่เรียนรู้เทคโนโลยีสารสนเทศโดยการโต้แย้งด้วยเหตุผล ที่ใช้เทคนิคการคิดนอกกรอบแบบการเปลี่ยนแปลงจากภายนอก มีคะแนนการคิดวิเคราะห์ไม่สูงกว่านักเรียนที่ใช้เทคนิคการคิดนอกกรอบ แบบการเปลี่ยนแปลงจากภายในอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ 2) นักเรียนที่มีแบบการคิดแบบฟิลด์ อินดิเพนเดนท์ที่เรียนรู้เทคโนโลยีสารสนเทศโดยการโต้แย้งด้วยเหตุผล มีการคิดวิเคราะห์ไม่สูงกว่านักเรียนที่มีแบบการคิดแบบฟิลด์ ดิเพนเดนท์ และแบบกลาง อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ 3) นักเรียนที่เรียนรู้เทคโนโลยีสารสนเทศโดยการโต้แย้งเหตุผล ที่ใช้เทคนิคการคิดนอกกรอบแบบการเปลี่ยนแปลงจากภายนอก มีการคิดสร้างสรรค์สูงกว่านักเรียนที่ใช้เทคนิคการคิดนอกกรอบ แบบการเปลี่ยนแปลงจากภายในอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ 4) นักเรียนที่มีแบบการคิดแบบฟิลด์ อินดิเพนเดนท์ที่เรียนรู้เทคโนโลยีสารสนเทศโดยการโต้แย้งด้วยเหตุผล ที่ใช้เทคนิคการคิดนอกกรอบมีการคิดสร้างสรรค์ไม่สูงกว่านักเรียนที่มีแบบการคิดแบบฟิลด์ ดิเพนเดนท์และแบบกลางอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ 5) ไม่มีปฏิสัมพันธ์อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติระหว่าง ประเภศของเทคนิคการคิดนอกกรอบที่ใช้ในการเรียนรู้เทคโนโลยีสารสนเทศ โดยการโต้แย้งด้วยเหตุผลกับแบบการคิดที่ส่งผลต่อการคิดวิเคราะห์ และการคิดสร้างสรรค์ของนักเรียน และ 6) นักเรียนที่เรียนรู้เทคโนโลยีสารสนเทศโดยการโต้แย้งด้วยเหตุผล ที่ใช้เทคนิคกาคิดนอกกรอบมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติen
dc.description.abstractalternativeTo study the effects of dialectic learning of information technology, employing different lateral thinking techniques, upon analytical and creative thinking of students with different cognitive styles, labeled as, field dependent, field independent, and in-between group. The lateral thinking techniques used in this research were "Change from within" and "Change from outside". The subject were 88 Prathom Suksa 6 students of Payathai School, in academic year 2004. The data were analyzed by t-test, ANOVA and ANCOVA at the .05 level of significance. The research results were as follows 1) Students learning from dialectic learning of information technology, using Change from within lateral thinking techniques, did not have significantly higher analytical thinking than those who used Change from outside lateral thinking techniques; 2) Field independent student, learning from dialectic learning of information technology using lateral thinking techniques, did not have significantly higher analytical thinking than field dependent students or in-between students; 3) Students learning from dialectic learning of information technology, using change from outside lateral thinking techniques, had significantly higher creative thinking than those who used change fromwithin lateral thinking techniques; 4) Field independent students, learning from dialectic learning of information technology using lateral thinking techniques, did not have significantly higher creative thinking than field dependent students or in-between students; 5) There was no significant interaction effect between lateral thinking techniques and cognitive styles upon analytical and creative thinking; and 6) The students' post-test score of learning achievement was significantly higher than their pre-test score.en
dc.format.extent2699368 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2005.625-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectความคิดนอกกรอบen
dc.subjectเทคโนโลยีสารสนเทศ -- การศึกษาและการสอน (ประถมศึกษา)en
dc.subjectความคิดสร้างสรรค์en
dc.subjectแบบการคิดen
dc.titleผลของการเรียนรู้เทคโนโลยีสารสนเทศโดยการโต้แย้งด้วยเหตุผล ที่ใช้เทคนิคการคิดนอกกรอบที่ต่างกันที่มีต่อการคิดวิเคราะห์ และการคิดสร้างสรรค์ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ที่มีแบบการคิดต่างกันen
dc.title.alternativeEffects of dialectic learning of information technology employing different lateral thinking techniques upon analytical and creative thinking of prathom suksa six students with different cognitive stylesen
dc.typeThesises
dc.degree.nameครุศาสตรดุษฎีบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาเอกes
dc.degree.disciplineหลักสูตรและการสอนes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorChawalert.L@chula.ac.th-
dc.email.advisorNormsri.C@Chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2005.625-
Appears in Collections:Edu - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
piyaporn.pdf2.64 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.