Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/62746
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวินิจ ธำวิวรรธน์-
dc.contributor.advisorสัณห์ พณิชยกุล-
dc.contributor.authorสิรินทิพย์ คติธรรมนิตย์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2019-08-21T06:47:26Z-
dc.date.available2019-08-21T06:47:26Z-
dc.date.issued2533-
dc.identifier.isbn9745777463-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/62746-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2533-
dc.description.abstractการวิจัยเพื่อศึกษาศักยภาพของการใช้โบรมีเลนในกระบวนการฟอกหนัง จากผลการทดลองพบว่าโบรมีเลนมีพีเอซที่เหมาะสมในการทำปฏิกิริยาอยู่ในระหว่าง 6.0-8.5 ในขณะที่เบทติ้งเอเจนท์เชิงพาณิชย์ได้แก่ ลูทรอน-เอซ, โพลีซิม, 606, โอโรพอน-เอน และแพนครีติค 606 มีพีเอซที่เหมาะสมในการทำงานอยู่ในช่วง 8.0-9.5, 7.0-9.5, 8.0-10.0 และ 8.0-10.0 ตามลำดับ ส่วนอุณหภูมิที่เหมาะสมในการทำงานของโบรมีเลน, ลูทรอน-เอซ, โพลีซิม 606, โอโรพอน-เอน และแพรครีติค 606 ประมาณ 50-65, 45-55, 30-45, 35-45 และ 40-50 องศาเซลเซียส ตามลำดับ การศึกษาความสามารถในการไฮโดรไลซ์เคซีนสับสเตรทในน้ำแช่หนัง ที่ผ่านการล้างปูนของ โบรมีเลน, ลูทรอน-เอซ, โพลิซิม 606, โอโรพอน-เอน และแพนครีติค 606 ในน้ำแช่หนัง หน่วยเป็นซีดียูต่อมิลลิกรัมผง มีค่าประมาณ 73.73, 34.46, 9.24, 13.36 และ 139.29 ตามลำดับ การทดลองใช้โบรมีเลน และลูทรอน-เอซในความเข้มข้น 0.1 และ 0.2 เปอร์เซนต์ต่อน้ำหนักหนัง ตามลำดับ ทำปฏิกิริยากับหนังในระดับขวดเขย่า และในถังหมุนขนาด 50 ลิตร ที่สภาวะเดียวกันพบว่า โบรมีเลนจะให้ผลเป็นหนังฟอกที่ทดสอบคุณลักษณะทางกายภาพได้แก่ ค่าแรงฉีก แรงดึง และระยะการยืดตัว ไม่ว่าจะเป็นหนังทดสอบส่วนท้อง ส่วนไหล่ หรือตะโพก ที่ไม่แตกต่างจากการใช้ลูทรอน-เอซ ในทางสถิติที่ระดับความเชื่อมั่น 95 เปอร์เซ็นต์ และเมื่อขยายการทดลองเป็นถังหมุนขนาด 300 ลิตร พบว่าคุณลักษณะทางกายภาพของชิ้นหนังทดสอบของการใช้โบรมีเลน และลูทรอน-เอซไม่แตกต่างกันในทางสถิติ ที่ระดับความเชื่อมั่น 95 เปอร์เซนต์-
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this research project was to studied the potential of bromelain utilization in leather processing. It was found that bromelain work best in the pH range of 6.0-8.5, meanwhile the pH of 8.0-9.5, 7.0-9.5, 8.0-10.0 and 8.0-10.0 were demonstrated for Lutron-H, Polyzim 606, Oropon-N and Pancreatic 606 (commercial bating agents), respectively. In the liming solution, bromelain, Lutron-H, Polyzim 606, Oropon-N and Pancreatic 606 yielded their activity of 73.73, 34.46, 9.24, 13.36, and 139.29 CDU/mg powder respectively. Establishment of the process in shake flask and in fifty litres reactor and standard condition, 0.1% bromelain and 0.2& Lutron-H (by weight of hides) resulted in no different physical property (in significantly, = 0.05). However when the volume of reactor was scaled up to 300 litre, the leather production form bromelain treatment gave no significant difference in tensile strength, elongation and tearing strength from the commercial Lutron-H treatment process.-
dc.language.isoth-
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.subjectโบรมิลีน-
dc.subjectเอนไซม์-
dc.subjectการฟอกหนัง-
dc.subjectหนังฟอก-
dc.subjectหนังสัตว์-
dc.subjectBromelin-
dc.subjectEnzymes-
dc.subjectTanning-
dc.subjectLeather-
dc.subjectHides and skins-
dc.titleการใช้โบรมีเลนในกระบวนการฟอกหนัง-
dc.title.alternativeUilization of bromelain in leather processing-
dc.typeThesis-
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต-
dc.degree.levelปริญญาโท-
dc.degree.disciplineเทคโนโลยีชีวภาพ-
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Sirintip_ca_front_p.pdf3.21 MBAdobe PDFView/Open
Sirintip_ca_ch1_p.pdf9.85 MBAdobe PDFView/Open
Sirintip_ca_ch2_p.pdf2.46 MBAdobe PDFView/Open
Sirintip_ca_ch3_p.pdf8.28 MBAdobe PDFView/Open
Sirintip_ca_ch4_p.pdf4.69 MBAdobe PDFView/Open
Sirintip_ca_back_p.pdf6.54 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.