Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/62783
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสุดใจ จำปา-
dc.contributor.authorสืบศักดิ์ อยู่จุ้ย-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2019-08-23T07:33:54Z-
dc.date.available2019-08-23T07:33:54Z-
dc.date.issued2531-
dc.identifier.isbn9745688215-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/62783-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2531-
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้ ทำการศึกษาแบบจำลองของการใช้พลาสติกมีเดียในถังตกตะกอนแบบน้ำไหลขึ้น เพื่อกำจัดแอลจี ตัวแบบจำลองเป็นถังตกตะกอนแบบน้ำไหลขึ้น 3 ถัง คือถังตกตะกอน 1,2 และ 3 ซึ่งบรรจุชั้นพลาสติกมีเดียหนา 10 ซม., 30 ซม., และ 50 ซม., ตามลำดับ โดยกำหนดให้อัตราน้ำล้นผิวของถุงตกตะกอนทั้ง 3 ถัง มีค่าคงที่คือ 2 ลบ.ม./ตร.ม.-ชม. หลังจากที่ได้ทำการเก็บข้อมูลที่เกี่ยวข้องทางด้ายกายภาพเคมี และชีวภาพ เป็นเวลาประมาณ 8 เดือน นำผลการทดลองมาวิเคราะห์ได้ผลสรุปดังนี้ 1. ถังตกตะกอน 1 ซึ่งบรรจุพลาสติกมีเดียหนา 10 ซม. เป็นถังที่เหมาะสมในการนำไปใช้งานมากที่สุด เนื่องจากมีประสิทธิภาพใกล้เคียงกับถังตกตะกอนอื่น และเป็นถังที่ประหยัดเงินค่าพลาสติกมีเดียมากที่สุด 2. ถังตกตะกอนแบบน้ำไหลขึ้นที่ใช้ในการกำจัดความขุ่น สามารถนำมาใช้ในการกำจัดแอลจีได้ โดยเพียงแต่บรรจุพลาสติกมีเดียลงในถังตกตะกอนที่ระดับความลึก 50 ซม. จากผิวน้ำ และทำการปิดฝาถังตกตะกอน เพื่อป้องกันการเพิ่มจำนวนของแอลจีเนื่องจากการสังเคราะห์แสง 3. ปริมาณพลาสติกมีเดียที่ใช้ คำนวณได้จาก ภาระบรรทุกปริมาณแอลจี 25 มิลลิกรัม/ตารางเมตร พลาสติกมีเดีย/วัน-
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this study was to reduce algal problem by using plastic media in upflow clarifier. Three upflow clarifiers 1, 2, and 3 contained with plastic media thickness of 10, 30 and 50 cm were used. Surface overflow rate was 2m³/m²-hr. After taking data in physical, chemical and biological for 8 months the result were : 1. The first clarifier contained 10 cm plastic media was the appropriate model for application because its efficiency was nearly to the other tank and more economic. 2. Upflow clarifier used for turbidity removel can be used for algal removal by putting plastic media into the tank 50 cm below the water level, cover the tank to prevent the increasing in number of algae from photosynthesis. 3. Loading for the media = 25 mg of algae/m²plastic media/day-
dc.language.isoth-
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.subjectการกำจัดน้ำเสีย-
dc.subjectการย่อยกากตะกอนน้ำเสีย-
dc.subjectแบบจำลองทางชลศาสตร์-
dc.subjectSewage disposal-
dc.subjectSewage sludge digestion-
dc.subjectHydraulic models-
dc.titleการศึกษาแบบจำลองการกำจัดแอลจีโดยใช้พลาสติกมีเดีย ในถังตกตะกอนแบบน้ำไหลขึ้น-
dc.title.alternativeModel study of algal removal by plastic media in upflow clarifier-
dc.typeThesis-
dc.degree.nameวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต-
dc.degree.levelปริญญาโท-
dc.degree.disciplineวิศวกรรมสำรวจ-
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Serbsak_yo_front_p.pdf7.69 MBAdobe PDFView/Open
Serbsak_yo_ch1_p.pdf5.61 MBAdobe PDFView/Open
Serbsak_yo_ch2_p.pdf10.14 MBAdobe PDFView/Open
Serbsak_yo_ch3_p.pdf6.15 MBAdobe PDFView/Open
Serbsak_yo_ch4_p.pdf32.4 MBAdobe PDFView/Open
Serbsak_yo_ch5_p.pdf2.6 MBAdobe PDFView/Open
Serbsak_yo_back_p.pdf27.37 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.