Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/62812
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorศักดิ์ศรี แย้มนัดดา-
dc.contributor.authorสุกัญญา ห่อประทุม-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2019-08-29T06:13:38Z-
dc.date.available2019-08-29T06:13:38Z-
dc.date.issued2531-
dc.identifier.isbn9745689963-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/62812-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (อ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2531-
dc.description.abstractการศึกษาเชิงวิเคราะห์เรื่องปุโรหิตในวรรณคดีสันสกฤตและในวัฒนธรรมไทยนี้ ผู้วิจัยมีจุดมุ่งหมายที่จะศึกษาประวัติความเป็นมา คุณสมบัติ บทบาท อำนาจ หน้าที่ และความสำคัญของปุโรหิตในราชสำนักของอินเดียและของไทย ตลอดจนการกลายมาเป็นพราหมณ์พิธีของไทยในสมัยปัจจุบัน โดยมีวิธีการดำเนินการวิจัยดังนี้คือ รวบรวมข้อมูลเรื่องปุโรหิตจากคัมภีร์สันสกฤต แปลข้อมูลภาษาสันสกฤตเป็นภาษาไทย จากนั้นจึงได้ศึกษาวิเคราะห์และเปรียบเทียบกับพราหมณ์ปุโรหิตในราชสำนักไทย ผลการวิจัยสรุปได้ว่า ไทยรับความเชื่อทางด้านลัทธิพราหมณ์มาจากอินเดีย โดยที่พวกพราหมณ์ได้ลงเรือสินค้ามากับพ่อค้า เดินทางมาทางคาบสมุทรมลายู ตั้งใจเผยแพร่ชักจูงให้คนเคารพบูชาในเทพเจ้าทั้งสามของพราหมณ์ และได้แสดงความรู้ของตนให้ประจักษ์แก่คนทุกชั้นตั้งแต่พระมหากษัตริย์ไปจนถึงสามัญชน พราหมณ์หลายคนได้รับราชการดำรงตำแหน่งพราหมณ์ประจำราชสำนัก เช่น ราชปุโรหิต พระมหาราชครู พราหมณ์พฤฒิบาศ เป็นต้น ต่อมาเมื่อประเทศไทยได้มีการเปลี่ยนแปลงการปกครองเป็นระบอบประชาธิปไตย และมีคณะรัฐมนตรีบริหารประเทศอำนาจของพราหมณ์ปุโรหิตจึงลดลง ในปัจจุบันนี้จึงมีแต่พราหมณ์พิธีเท่านั้น-
dc.description.abstractalternativeIt is in this analytical study on the Purothita in the Sanskrit literature and the Thai culture that the writer attempts to describe the development of the idea, the role, functions and importance of the Purohita in old India and the influence in the Thai culture. Data are collected from religious Sanskrit texts, which are then translated into Thai. A comparison of result is then made with the functions of the Purohitas in the Thai tradition. It is concluded that the concept of Purohita was imported from India into Thailand, probably through trade routes through the Malay peninsula. It is possible that the original purpose of the traders was to introduce the worship of the 3 great gods to the people of the new land, from the king down to the commoners. Many Brahmans became attached to the courts of the Thai monarchs with various titles such as Rājapurohita, Phara Mahārājakuru and Bradhipāsa. The power of these Purohita brahman has been much reduced since the time Thailand has been under the constitutional monarchs, although a number of Brahmans are kept for the performance of religious functions in several state ceremonies.-
dc.language.isoth-
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.subjectปุโรหิต-
dc.subjectพราหมณ์ -- อินเดีย-
dc.subjectพราหมณ์ -- ไทย-
dc.subjectวรรณคดีสันสกฤต-
dc.subjectพิธีทางศาสนาและพิธีกรรม-
dc.subjectวรรณะ-
dc.subjectพระอัคนี-
dc.subjectพระพฤหัสบดี-
dc.subjectพระศุกร์-
dc.subjectวิศวรูป-
dc.subjectพระวสิษฐ์-
dc.subjectพระวิศวามิตร-
dc.subjectเกาฏิลยะ-
dc.subjectเธามยะ-
dc.titleการศึกษาเชิงวิเคราะห์เรื่องปุโรหิตในวรรณคดีสันสกฤต และในวัฒนธรรมไทย-
dc.title.alternativeAnalystical study on the Purohita in Sanskrit literature and Thai culture-
dc.typeThesis-
dc.degree.nameอักษรศาสตรมหาบัณฑิต-
dc.degree.levelปริญญาโท-
dc.degree.disciplineภาษาบาลีและสันสกฤต-
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Sukanya_ho_front_p.pdfหน้าปก และ บทคัดย่อ8.12 MBAdobe PDFView/Open
Sukanya_ho_ch1_p.pdfบทที่ 15.21 MBAdobe PDFView/Open
Sukanya_ho_ch2_p.pdfบทที่ 214.4 MBAdobe PDFView/Open
Sukanya_ho_ch3_p.pdfบทที่ 320.06 MBAdobe PDFView/Open
Sukanya_ho_ch4_p.pdfบทที่ 439.38 MBAdobe PDFView/Open
Sukanya_ho_ch5_p.pdfบทที่ 53.39 MBAdobe PDFView/Open
Sukanya_ho_back_p.pdfบรรณานุกรม และภาคผนวก5.39 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.