Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/62813
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorUbonthip Nimmannit-
dc.contributor.advisorVimolmas Lipipun-
dc.contributor.authorSukanya Arpornpattanapong-
dc.contributor.otherChulalongkorn University. Graduate School-
dc.date.accessioned2019-08-29T06:39:14Z-
dc.date.available2019-08-29T06:39:14Z-
dc.date.issued1996-
dc.identifier.isbn9746333348-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/62813-
dc.descriptionThesis (M.Sc. in Pharm.)--Chulalongkorn University, 1996en_US
dc.description.abstractLiposomes containing protein extract from Pasteurella multocida prepared by double emulsion technique were studied on the effect of molar ratio of egg yolk lecithin to cholesterol on their physiconchemical properties and stability. The molar ratio of egg yolk lecithin to cholesterol used were 1:0, 7:2, and 1:1. The particle size and entrapping efficiency depended on the cholesterol content, 1:1 molar ratio of lecithin to cholesterol liposomes which was cholesterol rich liposomes gave the large particle sizes (5.92 µm) and high entrapping efficiency (45.26+1.25%). Moreover, the higher cholesterol content gave a more stability of liposomes. In this study, CM-Cellulose and CM-Chitosan in concentration of 0.02%, 0.2% and 0.5% w/v were used to stabilize liposomes. The physicochemical properties and stability of polymer coated liposomes were investigated. These polymers form mesh like layer around liposome vesicles. They do not disturb the structure of bilayer and entrapping efficiency. The more increasing concentrations of polymers, the stability of liposomes was increased in PBS pH 7.4 at 37℃. The percent of released protein from 0.5% w/v carboxymethylchitosan coated liposomes were reduced about 60% within 10 hours (from 99.05% to 33.02%). The polymer coated liposomes were kept in the closed seal containers, they could remain the protein content over 90% at 4℃ for 3 months.en_US
dc.description.abstractalternativeไลโปโซมที่ใช้บรรจุสารสกัดโปรตีนจากเชื้อพาสเตอเรลลา มัลโตซิดา เตรียมโดยวิธีดับเบิลอิมัลชันเทคนิค เพื่อศึกษาคุณสมบัติทางกายภาพ และความคงตัวของไลโปโซม เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงของอัตราส่วนโดยน้ำหนักโมเลกุลของเลซิทินจากไข่แดงต่อโคเลสเตอรอลที่ใช้เตรียมเป็นผนังของไลโปโซม อัตราส่วนโดยน้ำหนักโมเลกุลของเลซิทินจากไข่แดงต่อโคเลสเตอรอลที่ถูกนำมาใช้เตรียมไลโปโซมคือ 1:0, 7:2 และ 1:1 จากการศึกษาพบว่าขนาดของอนุภาคและประสิทธิภาพในการเก็บกักสารของไลโปโซมขึ้นอยู่กับปริมาณโคเลสเตอรอลที่ใช้เตรียมไลโปโซม โดยไลโปโซมที่เตรียมจากเลซิทินจากไข่แดงต่อโคเลสเตอรอลในอัตราส่วน 1:1 โดยน้ำหนักโมเลกุล ซึ่งเป็นไลโปโซมที่มีปริมาณโคเลเตอรอลอยู่สูงนั้นจะมีขนาดอนุภาคใหญ่ (5.92ไมครอน) และมีประสิทธิภาพในการเก็บกักสารสูง (45.26±1.25เปอร์เซนต์) และที่สำคัญคือมีความคงตัวสูง ในการศึกษาครั้งนี้สารคาร์บอกซีเมลทิลเซลลูโลสและคาร์บอกซีเมทิลไคโตแซน ซึ่งมีความเข้มข้น 0.02, 0.2 และ 0.5 เปอร์เซ็นต์โดยน้ำหนักต่อปริมาตรถูกนำมาใช้เพิ่มความคงตัวของไลโปโซม จากการศึกษาคุณสมบัติทางกายภาพ และความคงตัวของไลโปโซม พบว่าชั้นของโพลิเมอร์ที่ห่อหุ้มอยู่รอบอนุภาคไลโปโซมไม่ได้เป็นชั้นที่ต่อเนื่องกันแต่จะมีลักษณะเหมือนร่างแห และการใช้โพลิเมอร์เป็นตัวเพิ่มความคงตัวของไลโปโซมนั้นไม่มีผลรบกวนต่อโครงสร้างของเมมเบรน และประสิทธิภาพในการเก็บกักสาร การเพิ่มความเข้มข้นของโพลิเมอร์ทำให้ความคงตัวของไลโปโซม ในฟอสเฟตบัฟเฟอร์ที่มีค่าความเป็นกรดด่างเท่ากับ 7.4 ที่อุณหภูมิ 37 องศาเซลเซียสเพิ่มขึ้น การใช้คาร์บอกซีเมทิลไคโตแซน 0.5 เปอร์เซนต์ โดยน้ำหนักต่อปริมาตรเป็นตัวเพิ่มความคงตัว พบว่าเปอร์เซนต์ของโปรตีนที่ถูกปลดปล่อยออกมาลดลงได้ถึง 60 เปอร์เซ็นต์ ภายในเวลา 10 ชั่วโมง คือจาก 99.05 เปอร์เซนต์ เหลือเพียง 33.02 เปอร์เซ็นต์ และไลโปโซมที่ถูกเคลือบด้วยโพลิเมอร์ทั้ง 2 ตัวนี้ สามารถคงปริมาณโปรตีนภายในอนุภาคไว้ได้มากกว่า 90 เปอร์เซ็นต์ เมื่อเก็บไว้ที่ 4 องศาเซลเซียสเป็นเวลา 3 เดือนen_US
dc.language.isoenen_US
dc.publisherChulalongkorn Universityen_US
dc.rightsChulalongkorn Universityen_US
dc.subjectLiposomesen_US
dc.subjectProteinsen_US
dc.subjectPasteurella multocidaen_US
dc.subjectไลโปโซมen_US
dc.subjectโปรตีนen_US
dc.subjectพาสทูเรลลามัลโตซิดาen_US
dc.titlePreparation of liposomes containing protein extract form Pasteurella multocidaen_US
dc.title.alternativeการเตรียมไลโปโซมที่ใช้บรรจุสารสกัดโปรตีน จากเชื้อพลาสเตอเรลลามัลโตซิดาen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameMaster of Science in Pharmacyen_US
dc.degree.levelMaster's Degreeen_US
dc.degree.disciplineClinical Pharmacyen_US
dc.degree.grantorChulalongkorn Universityen_US
dc.email.advisorUbonthip.N@Chula.ac.th-
dc.email.advisorVimolmas.L@Chula.ac.th-
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Sukanya_ar_front_p.pdf11.15 MBAdobe PDFView/Open
Sukanya_ar_ch1_p.pdf2.73 MBAdobe PDFView/Open
Sukanya_ar_ch2_p.pdf35.15 MBAdobe PDFView/Open
Sukanya_ar_ch3_p.pdf8.18 MBAdobe PDFView/Open
Sukanya_ar_ch4_p.pdf33.89 MBAdobe PDFView/Open
Sukanya_ar_ch5_p.pdf1.83 MBAdobe PDFView/Open
Sukanya_ar_back_p.pdf27.11 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.