Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/62846
Title: | การพัฒนาโครงระบบผู้เชี่ยวชาญที่ใช้การอนุมานความรู้ แบบหาเหตผลไปข้างหน้า |
Other Titles: | Development of forward chaining expert system shell |
Authors: | สุชาติ สิทธิวิจารณ์กิจ |
Advisors: | เจริญ ศิริเนาวกุล สุยุชน์ สัตยประกอบ |
Other author: | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย |
Subjects: | ระบบผู้เชี่ยวชาญ (วิทยาการคอมพิวเตอร์) การออกแบบระบบ Expert systems (Computer science) System design |
Issue Date: | 2534 |
Publisher: | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
Abstract: | การวิจัยนี้มุ่งที่จะทำการพัฒนาโปรแกรมโครงระบบผู้เชียวชาญต้นแบบขึ้นด้วยวิธีการแทนค่าควารรู้แบบกฎ และการอนุมานความรู้แบบหาเหตุผลไปข้างหน้า ที่มีความสามารถจะหยุดพักการปรึกษาไว้ชั่วคราวโดยบันทึกข้อเท็จจริงต่างๆ เก็บไว้ในไฟล์แล้วเรียกกลับมาใช้ปรึกษาต่อจากจุดเดิมได้โดยไม่ต้องเริ่มต้นใหม่ โดยใช้ความรู้บางส่วนของการตรวจจำแนกชนิดของเชื้อแบคทีเรียทางการแพทย์เป็นความรู้ตัวอย่างสำหรับการออกแบบและการทดสอบ โครงระบบผู้เชี่ยวชาญต้นแบบนี้พัฒนาขึ้นบนเครื่อง IBM PC XT ใช้ระบบปฏิบัติการการ PC DOS 3.10 โดยใช้ภาษาซีในการเขียนโปรแกรม เพื่อให้มีความสามารถในการเก็บความรู้ในรูปของกฎ และให้คำปรึกษาโดยการประมวลผลความรู้นั้นร่วมกับการสอบถามข้อเท็จจริงจากผู้ใช้เป็นภาษาอังกฤษ จึงออกแบบการแทนค่าความรู้เป็นแบบกฎ มีการแทนค่าข้อเท็จจริงแบบ Attribute-Value Pairs และทิศทางของการอนุมานความรู้เป็นแบบหาเหตุผลไปข้างหน้าโดยใช้เทคนิค Rule Focus จากการทดสอบโปรแกรมโครงระบบผู้เชี่ยวชาญต้นแบบที่สร้าขึ้นโดยใช้เความรู้บางส่วนของการตรวจจำแนกชนิดของเชื้อแบคทีเรียทางการแพทย์ ฐานความรู้ตัวอย่างมีกฎ 141 ข้อ ประกอบด้วยเชื้อ 73 สปีซีส์ ซึ่งใช้วิธีการตรวจของ Lennette (Lennette, 1980) ปรากฎว่าโปรแกรมสามารถทำงานได้ตามความต้องการทั้งในการเก็บความรู้และการให้คำปรึกษาได้อย่างถูกต้อง |
Other Abstract: | The research is to develop a prototype of expert system shell by using rules based representation and forward chaining as the inference control mechanism. The designed inference engine has the specified functions to perform saving and loading facts to and from disk file during the consultation. A part of medical-bacterial identification knowledge is used as the domain knowledge for designing and testing. The development of the shell was made on IBM PC XT running under PC DOS version 3.10. It was written in C and designed to be able to collect knowledge from user in the IF-THEN format. The system provides the consultation by acquiring facts from the user. This facts will be processed with the rules in the knowledge base. Testing is made by using a part of medical-bacterial identification knowledge. The sample knowledge base contains 141 rules for identifying 73 species of bacteria. The identification method is derived from Lennette (Lennette, 1980). The results obtained by the consultations give the expected results. |
Description: | วิทยนิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2534 |
Degree Name: | วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต |
Degree Level: | ปริญญาโท |
Degree Discipline: | วิทยาศาสตร์คอมพิวเตอร์ |
URI: | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/62846 |
Type: | Thesis |
Appears in Collections: | Grad - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Suchat_si_front_p.pdf | 3.64 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Suchat_si_ch1_p.pdf | 11.97 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Suchat_si_ch2_p.pdf | 7.15 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Suchat_si_ch3_p.pdf | 9.66 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Suchat_si_ch4_p.pdf | 15.12 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Suchat_si_ch5_p.pdf | 3.63 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Suchat_si_ch6_p.pdf | 2.27 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Suchat_si_back_p.pdf | 16.35 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.