Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/62881
Title: | การร้องทุกข์ของข้าราชการพลเรือน |
Other Titles: | Grievances in that civil service |
Authors: | สุทธาทิพย์ นาคาบดี |
Advisors: | วิษณุ เครืองาม |
Other author: | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย |
Subjects: | การร้องทุกข์ (วิธีพิจารณาคดีปกครอง) -- ไทย ข้าราชการพลเรือน -- กฎหมายและระเบียบข้อบังคับ -- ไทย การบริหารงานบุคคล -- ไทย Complaints (Administration procedure) -- Thailand Public officers -- Law and legislation Personnel management -- Thailand |
Issue Date: | 2532 |
Publisher: | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
Abstract: | สิทธิในการร้องทุกข์ของข้าราชการพลเรือน เป็นการให้หลักประกันความเป็นธรรมและความมั่นคงในอาชีพแก่ข้าราชการพลเรือนตามหลักการบริหารงานบุคคลในระบบคุณธรรม (Merit System) และเพื่อให้เกิดความสัมพันธ์อันดีระหว่างผู้บังคับบัญชากับผู้อยู่ใต้บังคัญบัญชา แต่จากการวิจัยโดยการออกแบบสอบถามพบว่าข้าราชการพลเรือนโดยทั่วไป ไม่ค่อยเข้าใจกฎหมายในเรื่องนี้ ทั้งในส่วนของสิทธิในการร้องทุกข์ เรื่องที่อาจร้องทุกข์ได้ และวิธีการร้องทุกข์ จึงมักไม่กล้าใช้สิทธิร้องทุกข์ ทั้งที่ตนไม่ได้รับความเป็นธรรม เหตุที่สิทธิในการร้องทุกข์ไม่เป็นที่นิยมของข้าราชการ เพราะตัวบทกฎหมายในเรื่องการร้องทุกข์นี้ยังไม่มีความชัดเจนและไม่ครอบคลุมถึงการใช้ดุลพินิจของผู้บังคับบัญชา ทั้งที่ใช้โดยมิชอบหรือโดยบิดเบือน (Abuse of Discretion) ดังนั้น เพื่อให้ข้าราชการได้รับการแก้ไขปลดเปลื้องทุกข์ได้ตามความประสงค์ จึงควรแก้ไขระบบรวมทั้งวิธีการร้องทุกข์ให้ชัดเจนและเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ ตลอดจนแก้ทัศนคติของผู้บังคับบัญชาและผู้อยู่ใต้บังคับบัญชาให้เป็นประโยชน์และเข้าใจเจตนารมณ์ของการร้องทุกข์ ซึ่งจะทำให้กฎหมายเรื่องนี้บรรลุวัตถุประสงค์ และเป็นเครื่องมือในการบริหารงานบุคคลในระบบราชการพลเรือนได้อย่างมีประสิทธิภาพยิ่ง |
Other Abstract: | Petition for redress of grievances is designed to guarantee fairness and security in civil service according to the principle of personnel administration relying heavily on merit and good relationship and understanding between the supervisors and their subordinates. According to the field research, civil servants in general are still do not aware of and appreciate law on grievances as to what can be petitioned, how to do and what process should be taken. Petition for redress of grievances is not popular among civil servants, though the right for grievances has long been legally recognized, because of the uncertainty of legal provisions and the legal limitation on the scope of permissible petition, i.e. petition against discretion is not permitted. Therefore, the law on petition should be amended and extended to cover petition against the supervisors’ abuse of discretion. The supervisors’ bad attitude towards their subordinates’ petition for redress of grievances should also be improved so that the law on grievances be effectively and efficiently applicable in the civil administration. |
Description: | วิทยานิพนธ์ (น.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2532 |
Degree Name: | นิติศาสตรมหาบัณฑิต |
Degree Level: | ปริญญาโท |
Degree Discipline: | นิติศาสตร์ |
URI: | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/62881 |
ISBN: | 9745764744 |
Type: | Thesis |
Appears in Collections: | Grad - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Sutthatip_na_front_p.pdf | 5.18 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Sutthatip_na_ch1_p.pdf | 5.9 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Sutthatip_na_ch2_p.pdf | 35.23 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Sutthatip_na_ch3_p.pdf | 10.79 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Sutthatip_na_ch4_p.pdf | 7.53 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Sutthatip_na_ch5_p.pdf | 4.21 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Sutthatip_na_back_p.pdf | 10.03 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.