Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/62884
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorกาญจนา แก้วเทพ-
dc.contributor.authorสุทธาสินี เกียรติไพบูลย์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2019-09-03T11:19:28Z-
dc.date.available2019-09-03T11:19:28Z-
dc.date.issued2533-
dc.identifier.isbn9745772674-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/62884-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (นศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2533-
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีจุดมุ่งหมายที่จะศึกษาถึงประวัติความเป็นมา วิวัฒนาการ และความเปลี่ยนแปลงของบทเพลงเพื่อชีวิต จาการเป็นบทเพลงเฉพาะกลุ่มของนิสิตนักศึกษา ปัญญาชนหัวก้าวหน้า มาสู่การเป็นบทเพลงสมัยนิยมของคนจำนวนมากที่เรียกว่า "มวลชน" ทั้งนี้ โดยมีสมมติฐาน 2 ข้อ คือ หนึ่ง "การปรับเปลี่ยนทางเนื้อหา รูปแบบ ภาพพจน์ และกลุ่มผู้ฟัง ของบทเพลงเพื่อชีวิต มีผลต่อการเปลี่ยนสู่การเป็นบทเพลงสมัยนิยม" สอง "ปัจจัยทางการเมือง เศรษฐกิจ และสังคม มีส่วนสัมพันธ์กับการที่ทำให้บทเพลงเพื่อชีวิต ปรับเปลี่ยนสู่การเป็นบทเพลงสมัยนิยม" ผลการวิจัยพบว่า การที่บทเพลงเพื่อชีวิตของไทยเปลี่ยนแปลงจากการเป็นบทเพลงเฉพาะกลุ่มมาสู่การเป็นบทเพลงที่ได้รับความนิยมจากมวลชนนั้น ปัจจัยที่สำคัญที่สุด ก็คือ การปรับเปลี่ยนตนเองของบทเพลงเพื่อชีวิต ในด้านของ เนื้อหา รูปแบบ ภาพพจน์ ให้สอดคล้องกับความต้องการของตลาด หรือกลุ่มผู้ฟังที่ได้เปลี่ยนแปลง ในยุคสมัยที่วงการเพลงไทยได้เข้าสู่ระบบธุรกิจเทปเพลง ซึ่งส่งผลให้บทเพลงกลายเป็นสินค้าหนึ่งในท้องตลาด ที่ต้องมีการแข่งขันในการขาย นอกจากนี้ ปัจจัยทางการเมือง เศรษฐกิจ และสังคม ก็มีส่วนสำคัญเช่นกัน ที่ทำให้บทเพลงเพื่อชีวิตต้องปรับและเปลี่ยนตามเหตุการณ์และสภาพแวดล้อม ด้วยเหตุทั้ง 2 ประการ นี้ บทเพลงเพื่อชีวิตจึงได้เปลี่ยนแปลงตนเอง จนกลายเป็นบทเพลงสมัยนิยมที่ได้รับความสนใจจากคนจำนวนมากในที่สุด-
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this research was to study history, evolution and change of the music for life from a select audience (e.g. student and advanced student) to the popular music of mass. Two hypotheses were used : first, the content, form, and image of the music for life has been modified in order to a more general audience ; secondly, politics, economics and social factors have created much more public awareness of political and social issues. The research findings indicated that both hypotheses are correct. It was also found that the music for life has been able keep in step with the changing times in Thailand.-
dc.language.isoth-
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.subjectดนตรี -- ไทย-
dc.subjectวัฒนธรรมมวลชน-
dc.subjectเพลงเพื่อชีวิต-
dc.subjectเพลงไทยสากล-
dc.subjectMusic -- Thailand-
dc.subjectPopular culture-
dc.titleวิวัฒนาการจากเพลงเฉพาะกลุ่มมาสู่เพลงสมัยนิยมของเพลงเพื่อชีวิต (พ.ศ. 2516-2531)-
dc.title.alternativeEvolution of the music for life from a select audience to popular music for the general public (1973 - 1988 A.D.)-
dc.typeThesis-
dc.degree.nameนิเทศศาสตรมหาบัณฑิต-
dc.degree.levelปริญญาโท-
dc.degree.disciplineการสื่อสารมวลชน-
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Sutthasinee_ki_front_p.pdf3.3 MBAdobe PDFView/Open
Sutthasinee_ki_ch1_p.pdf7.93 MBAdobe PDFView/Open
Sutthasinee_ki_ch2_p.pdf11.01 MBAdobe PDFView/Open
Sutthasinee_ki_ch3_p.pdf3.67 MBAdobe PDFView/Open
Sutthasinee_ki_ch4_p.pdf26.36 MBAdobe PDFView/Open
Sutthasinee_ki_ch5_p.pdf58.23 MBAdobe PDFView/Open
Sutthasinee_ki_ch6_p.pdf4.94 MBAdobe PDFView/Open
Sutthasinee_ki_back_p.pdf29.05 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.