Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/62888
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ศรีสอาด ตั้งประเสริฐ | - |
dc.contributor.author | สุนีย์ แจ้งแจ่มจิตต์ | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย | - |
dc.date.accessioned | 2019-09-04T03:16:14Z | - |
dc.date.available | 2019-09-04T03:16:14Z | - |
dc.date.issued | 2533 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/62888 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (อ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2533 | - |
dc.description.abstract | งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อสร้างเกณฑ์ในการคัดสินว่า กลุ่มจังหวัด 8 จังหวัด ซึ่งสำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติกำหนดให้เป็นภูมิภาคเหนือตอนล่าง แต่คณะกรรมการภูมิศาสตร์แห่งชาติกำหนดให้เป็นส่วนหนึ่งของภาคกลางนั้น (ยกเว้น จังหวัดอุตรดิตถ์) สมควรจัดอยู่ในภาคใดการศึกษามี 2 ขั้นตอน ขั้นตอนแรกทำการกำหนดลักษณะที่ทำให้ภาคเหนือและภาคกลาง (ไม่รวมบริเวณที่เป็นปัญหาหรือบริเวณภาคเหนือตอนล่าง) มีความแตกต่างกัน โดยใช้วิธีการวิเคราะห์จำแนกประเภท (Discriminant Analysis) เพื่อสร้างแบบจำลองที่แสดงความแตกต่างของภาคทั้งสองได้แก่ แบบจำลองทางกายภาพและแบบจำลองทางเศรษฐกิจสังคม ขั้นตอนที่สองได้แก่การนำเอาแบบจำลองทั้งสองทดสอบกับจังหวัดในบริเวณที่เป็นปัญหาเพื่อกำหนดว่าจังหวัดใดควรจัดอยู่ในภาคใด ผลการวิจัยสรุปได้ว่าทางด้านกายภาพของภาคเหนือและภาคกลางมีความแตกต่างกันมากในด้านอุณหภูมิเฉลี่ยรายปี ร้อยละของพื้นที่ปลูกข้าวต่อพื้นที่เกษตรกรรมและร้อยละของพื้นที่ชลประทานต่อพื้นที่เกษตรกรรม โดยภาคกลางมีค่าตัวแปรเหล่านี้สูงกว่าทั้งหมด ซึ่งแสดงว่าเมื่อเทียบกับภาคเหมือแล้วภาคกลางเป็นภูมิภาคที่มีอุณหภูมิสูงกว่า และมีลักษณะภูมิประเทศที่เป็นที่ราบต่ำเหมาะสำหรับการปลูกข้าวและการชลประทาน ทางด้านเศรษฐกิจสังคม ลักษณะที่แตกต่างกันอย่างเด่นชัดคือ ภาคกลางมีสัดส่วนประชากรนอกการเกษตร และมีอัตราเพิ่มประชากรที่สูงกว่าภาคเหมือ เมื่อนำเอาแบบจำลองมาใช้ในการกำหนดภูมิภาคให้กับจังหวัดทั้ง 8 แห่งในบริเวณภาคเหนือตอนล่าง พบว่า ภูมิภาคแบบจำลองทางกายภาพตรงกับภูมิภาคของคณะกรรมการภูมิศาสตร์แห่งชาติ คือ ทุกจังหวัดยกเว้นอุครดิตถ์ จัดอยู่ในภาคกลาง แต่สำหรับภูมิภาคแบบจำลองทางเศรษฐกิจสังคมทุกจังหวัดกลับถูกจัดอยู่ในการภาคเหนือ ยกเว้นกำแพงเพชร นครสรรค์แลอุทัยธานี นอกจากนี้เป็นที่น่าสังเกตว่าค่าจำแนกกลุ่มของจังหวัดทั้ง 8 นี้ มีค่าที่ค่อนข้างห่างจากค่าจำแนกกลุ่มของกลุ่มจังหวัดในภาคเหนือและภาคกลาง งานวิจัยนี้สรุปได้ว่า จังหวัดทั้ง 8 นี้ เป็นภูมิภาคที่มีลักษณะแตกต่างจากภาคเหนือและภาคกลาง การที่จะเรียกแยกเป็น “ภาคเหนือตอนล่าง” หรือ “ภาคกลางตอนบน” เป็นที่ยอมรับได้ทั้งสองอย่างอาจกล่าวได้ว่าการแบ่งภูมิภาคตามแบบของสำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติและตามแบบของคณะกรรมการภูมิศาสตร์แห่งชาติ มีความเหมาะสมทั้งสองแบบ | - |
dc.description.abstractalternative | The objective of this research is to determine the appropriate classification for those eight provinces designated as the lower Northern Region by the National Economic and Social Development Board (NESEB) but classified by the National Geography Board as belonging to the Central Region. The study has two steps. First, discriminant analysis is used to determine the differential characteristics between the Northern and the Central Region and also to create physical and socio-economic models. Second, these two models are used as a test to determine whether the eight provinces should be classified as part of the Northern or Central Region. This research has determined the principal differential physical characteristics between the Central and the Northern Region which constituted: mean annual temperature, percentage of rice cultivation area and percentage of irrigated land. For all the three variables, the Central Region shows higher figures revealing its warmer and relatively flat terrain. Socio-economically, the two regions differ in that the Central Region has a higher population growth rate than the North, and in the North, a greater percentage of the region’s population is engaged in agriculture. In applying the physical model to the eight provinces being considered in this research, it was found that all except Uttaradit belong to the Central Region, as determined by the National Geography Board. However, in applying the socio-economic regional model, all are in the Northern Region except Kamphaeng Phet, Nakhon Sawan and Uthai Thani, which are in the Central Region. It is remarkable that the discriminant scores of the eight provinces differ from those of the provinces of both the Northern and the Central Regions. In summary; the eight provinces comprise a region that does not have the same physical and socio-economic characteristics as either the Northern or the Central Region. In the view of the NESDB and the National Geography Board, this region may rightly be called “the lower part of the Northern Region” or “the upper part of the Central Region.” | - |
dc.language.iso | th | - |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | - |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | - |
dc.subject | การแบ่งเขตภูมิภาค -- ไทย | - |
dc.subject | ความแตกต่างระหว่างภาค -- ไทย | - |
dc.subject | การใช้ที่ดิน | - |
dc.subject | ขตเศรษฐกิจ | - |
dc.subject | แบบจำลองทางคณิตศาสตร์ | - |
dc.subject | การวิเคราะห์การจำแนกประเภท | - |
dc.subject | การวางแผนพัฒนาระดับภาค | - |
dc.subject | Zoning -- Thailand | - |
dc.subject | Regional disparities -- Thailand | - |
dc.subject | Land use | - |
dc.subject | Economic zoning | - |
dc.subject | Mathematical models | - |
dc.subject | Discriminant analysis | - |
dc.subject | Regional planning | - |
dc.title | การกำหนดแนวแบ่งเขตภูมิภาคระหว่างภาคกลาง และภาคเหนือ | - |
dc.title.alternative | Determination of the regional division line between the central and the northern regions | - |
dc.type | Thesis | - |
dc.degree.name | อักษรศาสตรมหาบัณฑิต | - |
dc.degree.level | ปริญญาโท | - |
dc.degree.discipline | ภูมิศาสตร์ | - |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | - |
Appears in Collections: | Grad - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Sunee_ja_front_p.pdf | 4.14 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Sunee_ja_ch1_p.pdf | 3.13 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Sunee_ja_ch2_p.pdf | 4.17 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Sunee_ja_ch3_p.pdf | 3.93 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Sunee_ja_ch4_p.pdf | 6.84 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Sunee_ja_ch5_p.pdf | 11.32 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Sunee_ja_ch6_p.pdf | 2.7 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Sunee_ja_back_p.pdf | 9.27 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.