Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/62960
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | Darin Pradittatsanee | - |
dc.contributor.author | Krittaporn Reungwattanakul | - |
dc.contributor.other | Chulalongkorn University. Faculty of Arts | - |
dc.date.accessioned | 2019-09-14T02:16:29Z | - |
dc.date.available | 2019-09-14T02:16:29Z | - |
dc.date.issued | 2018 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/62960 | - |
dc.description | Thesis (M.A.)--Chulalongkorn University, 2018 | - |
dc.description.abstract | This thesis aims to examine how contemporary indigenous writers reclaim their self-definition through the born-within, region-based perspectives in three novels: Leslie Marmon Silko’s Ceremony (1977), Patricia Grace’ Potiki (1986), and Kiana Davenport’s Shark Dialogues (1998). It propounds that the three novels employ indigenous myths, knowledge, and epistemologies to present their modern indigenous culture, history and identity as distinct from mainstream Western stereotypical perceptions. These writers also suggest the necessity for hybridization of traditional culture in order for indigenous cultures to survive when it comes into contact with the global community. The three selected literary texts present integral roles of nature in the formation of indigenous cultural identity and the destruction of the natural environment is therefore a threat to the survival of indigeneity. My analysis of Ceremony suggests that the protagonist, a World War II veteran, recovers from his wartime trauma and identity crisis after he restores his connection with the natural world through the traditions of ceremonies and storytelling. The author applies the structure of Native American ceremony and storytelling in order to reshape readers’ worldview. In Potiki, this thesis argues that Maori cosmological concepts of time and creation govern the indigenous way of life and their relationship within the community and with the land. These notions help the Maori cope with their losses and create their contemporary Maori identity. It is also contended that the novel is constructed in much the same manner as the Maori ancestral house in order to establish the relationship between the characters as hosts and readers as guests. Finally, the reading of Shark Dialogues argues that Hawaiian-ness is not indicated by ethnicity, but contributed by shared suffering, the spirit of defiance, and love of the land. It also postulates that only through their understanding of their family history are the characters healed from personal conflicts and historical trauma. | - |
dc.description.abstractalternative | วิทยานิพนธ์ฉบับนี้ศึกษาการเรียกคืนสิทธิ์ในการนิยามตนเอง ผ่านมุมมองของคนพื้นถิ่นในสามภูมิภาค โดยเลือกวิเคราะห์นวนิยายสามเล่ม ซึ่งเขียนโดยนักเขียนชนพื้นถิ่นร่วมสมัย ได้แก่ Ceremony ของ เลสลี มาร์มอน ซิลโก (ค.ศ. 1977) Potiki ของ แพทริเซีย เกรซ (ค.ศ. 1986) และ Shark Dialogues ของ คีอานา ดาเวนพอร์ต (ค.ศ. 1998) งานวิจัยนำเสนอว่า นวนิยายทั้งสามเล่มใช้ตำนาน องค์ความรู้ และญาณวิทยาของชนพื้นถิ่นในภูมิภาคของตนเพื่อเสนอภาพวัฒนธรรม ประวัติศาสตร์ และอัตลักษณ์ร่วมสมัยของชนพื้นถิ่นในพื้นที่ดังกล่าว ซึ่งต่างจากภาพจำอันเกิดจากการรับรู้ผ่านมุมมองของชาวตะวันตก ผู้เขียนทั้งสามชี้ให้เห็นถึงความจำเป็นในการปรับแปลงวัฒนธรรมดั้งเดิม เพื่อให้วัฒนธรรมท้องถิ่นปรับตัวอยู่รอดได้ในบริบทโลกปัจจุบัน ในงานเขียนที่เลือกวิเคราะห์ทั้งสามเล่ม ธรรมชาติมีบทบาทสำคัญในการสร้างอัตลักษณ์ของชนพื้นถิ่น ดังนั้น การทำลายธรรมชาติจึงถือเป็นภัยคุกคามต่ออัตลักษณ์ที่ยึดโยงอยู่กับพื้นที่นั้น บทวิเคราะห์เรื่อง Ceremony ชี้ให้เห็นว่าตัวละครหลักสามารถเยียวยาตนเองให้สามารถคลี่คลายปมปัญหาทางใจที่เกิดขึ้นจากการร่วมรบในสงครามโลกครั้งที่สองและปมความขัดแย้งทางอัตลักษณ์ของตนได้โดยการรื้อฟื้นความสัมพันธ์กับโลกธรรมชาติผ่านพิธีกรรมและประเพณีการเล่าเรื่องในวัฒนธรรมมุขปาฐะ ทั้งนี้ผู้เขียนใช้โครงสร้างการประกอบพิธีกรรมและการเล่าเรื่องของชนพื้นถิ่นอเมริกาในการเสนอโลกทัศน์ใหม่แก่ผู้อ่าน การศึกษาเรื่อง Potiki นำเสนอว่า แนวคิดเรื่องเวลาและต้นกำเนิดของสรรพสิ่งตามความเชื่อเชิงจักรวาลวิทยาของชาวเมารีเป็นหลักสำคัญที่กำหนดวิถีชีวิต ความสัมพันธ์ภายในชุมชนและการปฏิบัติต่อแผ่นดิน แนวคิดดังกล่าวช่วยให้ชาวเมารีสามารถรับมือกับความสูญเสียและสร้างอัตลักษณ์เมารีร่วมสมัยขึ้นมาได้ การวิเคราะห์ยังชี้ให้เห็นว่า ผู้เขียนจัดเรียงเนื้อหาในนวนิยายให้มีลักษณะคล้ายโครงสร้างทางสถาปัตยกรรมของเรือนบรรพบุรุษในวัฒนธรรมเมารี เพื่อให้ผู้อ่านมีสถานะเป็นเสมือนอาคันตุกะผู้มาเยือนชุมชน และตัวละครเป็นเจ้าบ้านผู้ต้อนรับ สุดท้าย ส่วนบทวิเคราะห์เรื่อง Shark Dialogues แสดงให้เห็นว่าอัตลักษณ์ความเป็นชาวฮาวายนั้นไม่ได้ขึ้นอยู่กับเชื้อชาติ หากแต่เกิดขึ้นจากประวัติศาสตร์การถูกกดขี่ร่วมกัน การต่อต้านแข็งขืนต่อผู้กดขี่และความรักต่อผืนดิน นอกจากนี้ การศึกษายังเสนอว่าการรู้และเข้าใจปูมประวัติครอบครัวเป็นวิธีเดียวในการเยียวยาประวัติศาสตร์บาดแผลและแก้ไขปมขัดแย้งภายในของตัวละครแต่ละตัวภายในเรื่อง | - |
dc.language.iso | en | - |
dc.publisher | Chulalongkorn University | - |
dc.relation.uri | http://doi.org/10.58837/CHULA.THE.2018.199 | - |
dc.rights | Chulalongkorn University | - |
dc.subject | English literature -- History and criticism | - |
dc.subject | วรรณคดีอังกฤษ -- ประวัติและวิจารณ์ | - |
dc.subject.classification | Arts and Humanities | - |
dc.title | Reclaiming stolen voices : an indigenous, region-based reading of Leslie Marmon Silko’s ceremony, Patricia Grace’s Potiki and Kiana davenport’s shark dialogues | - |
dc.title.alternative | ทวงคืนเสียงที่ถูกพรากหาย : บทวิเคราะห์นวนิยาย เซเรโมนี ของ เลสลี มาร์มอน ซิลโก, โพทิกิ ของ แพทริเซีย เกรซ และ ชาร์ก ไดอะล็อก ของ คีอานา ดาเวนพอร์ต โดยอิงภูมิปัญญาชนพื้นถิ่นภายในภูมิภาค | - |
dc.type | Thesis | - |
dc.degree.name | Master of Arts | - |
dc.degree.level | Master's Degree | - |
dc.degree.discipline | English | - |
dc.degree.grantor | Chulalongkorn University | - |
dc.email.advisor | Darin.P@Chula.ac.th | - |
dc.identifier.DOI | 10.58837/CHULA.THE.2018.199 | - |
Appears in Collections: | Arts - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
5880103222.pdf | 1.54 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.