Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/63141
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorชัยพัฒน์ หล่อศิริรัตน์-
dc.contributor.authorชัชชานนท์ พูลสวัสดิ์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์การกีฬา-
dc.date.accessioned2019-09-14T02:47:06Z-
dc.date.available2019-09-14T02:47:06Z-
dc.date.issued2561-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/63141-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2561-
dc.description.abstractวัตถุประสงค์: เพื่อเปรียบเทียบตัวแปรทางชีวกลศาสตร์ ระหว่างการสวิงบนพื้นราบและบนพื้นลาดเอียงแบบขึ้นเนินและลงเนิน ในนักกีฬากอล์ฟสมัครเล่น วิธีดำเนินการวิจัย กลุ่มตัวอย่างงานวิจัยนี้คือ นักกีฬากอล์ฟสมัครเล่น เพศชาย วงสวิงขวา จำนวน 16 คน กลุ่มตัวอย่างทำการสวิงด้วยเหล็ก 7 บนพื้น 3 รูปแบบ ได้แก่ พื้นราบ พื้นเอียงแบบขึ้นเนินและลงเนิน ซึ่งทำมุม ±10 องศากับแนวราบ เพื่อบันทึกการเคลื่อนไหวของร่างกาย แรงปฏิกิริยาจากพื้นและความเร็วหัวไม้ แล้วจึงเลือกข้อมูลใน 4 เหตุการณ์ ได้แก่ ตำแหน่งจรดลูก ตำแหน่งขึ้นไม้สูงสุด ตำแหน่งกลางของการลงไม้และตำแหน่งไม้กระทบลูก เพื่อหาความแตกต่างด้วยสถิติวิเคราะห์ความแปรปรวนแบบทางเดียวแบบวัดซ้ำ ผลการวิจัย พบว่า การสวิงแบบขึ้นเนินและลงเนินมีระยะระหว่างเท้าเพิ่มจากสวิงบนพื้นราบ การสวิงแบบขึ้นเนินมีความแตกต่างของการเคลื่อนไหวและประสิทธิภาพที่ลดลงจากการสวิงบนพื้นราบและการสวิงแบบลงเนินอย่างมีนัยสำคัญ ในขณะที่การสวิงแบบลงเนินมีประสิทธิภาพและการเคลื่อนไหวบางช่วงไม่แตกต่างจากการสวิงบนพื้นราบอย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ .05 สรุปผลการวิจัย การสวิงแบบขึ้นเนินและลงเนินควรเพิ่มระยะระหว่างเท้าให้กว้างมากขึ้นเพื่อรักษาการทรงตัว การสวิงบนพื้นที่ลาดเอียงควรรักษาลักษณะการยื่นและการเคลื่อนไหวให้ใกล้เคียงกับการสวิงบนพื้นราบให้มากที่สุด เพื่อคงไว้ซึ่งความเร็วเชิงมุมในการหมุนลำตัวและสะโพกที่สำคัญต่อการสร้างความเร็วหัวไม้-
dc.description.abstractalternativePurpose: To compare the biomechanical variables of golf swing among different types of slopes, i.e., flat, uphill and downhill. Methods: Sixteen right-handed amateur male university golfers volunteered to participate in the study. The participants performed 5 swings on three different slope conditions, i.e., flat, uphill and downhill. The uphill and downhill slopes were +10 and -10 degrees from flat slope, respectively. Kinematic and kinetic analysis were collected using Qualisys System and performed using MATLAB. ANOVA with repeated measures was utilized to find statistical difference among the three slopes at level of significance of .05. Results: Based on the flat swing condition, the stance width during uphill and downhill was found to be significantly wider. Performance outcomes of uphill swing were statistically different from those of flat and downhill swimg while there was no significant difference in motion and performance outcomes for the downhill condition. Conclusion: Golf swing under uphill and downhill should stance wider for balancing against the weight that transfers to the lower foot. The golfer should keep swing motion similar to normal swing as performed on the flat condition as much as possible in order to maintain trunk rotation velocity which is the key to develop club head velocity.-
dc.language.isoth-
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.relation.urihttp://doi.org/10.58837/CHULA.THE.2018.1094-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.subjectชีวกลศาสตร์-
dc.subjectวงสวิง (กอล์ฟ)-
dc.subjectBiomechanics-
dc.subjectSwing (Golf)-
dc.subject.classificationHealth Professions-
dc.titleการเปรียบเทียบตัวแปรทางชีวกลศาสตร์ระหว่างการสวิงกอล์ฟบนพื้นที่ลาดเอียงที่ต่างกันในนักกีฬากอล์ฟสมัครเล่น-
dc.title.alternativeA comparison of biomechanical variables of golf swing among different slopes in amateur golfers-
dc.typeThesis-
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต-
dc.degree.levelปริญญาโท-
dc.degree.disciplineวิทยาศาสตร์การกีฬา-
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.subject.keywordการสวิงกอล์ฟ-
dc.subject.keywordพื้นลาดเอียง-
dc.subject.keywordขึ้นเนิน-
dc.subject.keywordลงเนิน-
dc.subject.keywordชีวกลศาสตร์-
dc.identifier.DOI10.58837/CHULA.THE.2018.1094-
Appears in Collections:Spt - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
6078306739.pdf3.97 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.