Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/63300
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorกมลชนก สุทธิวาทนฤพุฒิ-
dc.contributor.authorพีรดา ปิยะสกุลแก้ว-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2019-09-14T03:04:57Z-
dc.date.available2019-09-14T03:04:57Z-
dc.date.issued2561-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/63300-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2561-
dc.description.abstractการวิจัยนี้เป็นผลการศึกษาในด้านระยะทาง ระยะเวลา ต้นทุนของการดำเนินงานของเรือ ความคิดเห็นและทัศนคติของผู้ให้บริการขนส่งทางทะเลด้วยเรือลำเลียงมีเครื่องยนต์ขนาดไม่เกิน 5,000 DWT และหน่วยงานของรัฐและองค์กรอิสระที่เกี่ยวข้องเพื่อเชื่อมอ่าวไทยกับทะเลอันดามัน โดยเส้นทางที่ทำการศึกษานี้ยกเส้นทางแนวคลองไทย 7A (ตอนบนของทะเลสาปสงขลา จ.พังงา – ตอนใต้ของ อ.กันตัง จ.ตรัง) เพื่อทำการศึกษาซึ่งเป็นเส้นทางที่ใช้ทะเลสาบสงขลาตอนบนเป็นแนวคลองธรรมชาติทาง และการศึกษานี้จะไม่กล่าวถึงการคำนวณต้นทุนในเชิงวิศวกรรม โดยผู้วิจัยตั้งสมติฐานว่ามีเส้นทางคมนาคมทางน้ำอยู่แล้วในทำการวิจัยในเชิงพาณิชย์ ซึ่งศึกษาจากเรือลำเลียงติดเครื่องยนต์ที่มีการให้บริการในปัจจุบันขนาดไม่เกิน 5,000 DWT ผู้วิจัยศึกษาโดยการสร้างแบบสอบถามและสัมภาษณ์เชิงลึกจากผู้เชี่ยวชาญ นักวิชาการและผู้ให้บริการขนส่งสินค้าทางทะเลถึงความคิดเห็นและข้อเสนอแนะ และสรุปถึงข้อเท็จจริงจากการสัมภาษณ์ ผลการศึกษาพบว่า (1) เส้นที่ทำการศึกษาเส้นทางนี้สามารถลดระยะทาง ระยะเวลาและต้นทุนการปฏิบัติงานของเรือได้เป็นอย่างมากและสามารถนำไปเป็นแนวทางในการกำหนดค่าภาระผ่านคลองที่เหมาะสม  (2) ความคิดเห็นข้อเสนอแนะของผู้ให้บริการขนส่งทางทะเลด้วยเรือลำเลียงมีเครื่อยนต์ส่วนใหญ่ให้ความสำคัญในเรื่องการลดต้นทุนและการเพิ่มความถี่ในการเดินเรือ อีกทั้งมีความต้องการให้รัฐบาลสนับสนุนการขนส่งสินค้าทางทะเลทั้งเชิงนโยบาย สิทธิประโยชน์ทางด้านภาษี (3) ความคิดเห็นและข้อเสนอแนะจากภาครัฐและองค์กรอิสระที่เกี่ยวข้องบางส่วนไม่เห็นด้วยเนื่องจากมีข้อกังวลในด้านแนวโน้มของขนาดจเรือที่เพิ่มขึ้น อุปสงค์และอุปทานของเส้นทางการเดินเรือ อีกทั้งในด้านกฎหมายความมั่นคง และสิ่งแวดล้อมจากการมีการพัฒนาเส้นทางคมนาคมเส้นทางนี้-
dc.description.abstractalternativeThe propose of this research is studying about distance, time and vessel operating cost and the opinion of self-propelled barge service provider and government and related independent organization for development of sea line communication connecting between Gulf of Thailand and Andaman Sea. The scope of this research will not consider to Engineering cost and will raise up The Thai Canal 7A (Routing from the Northern of Songkhla Lake, Pang Nga District to the Southern of Kan Trang Subdistrict, Trang Province) by setting the hypothesis that this routing was already occurred. Researcher makes the questionnaire and interview both group of research population for the opinion, attitude and conclude the result. This study found that (1) This new routing can reduce the distance, time and vessel operating cost and able to bring this result to calculate and determine the suitable canal fee (2) All of the opinion from self-propelled barge service provider emphasize vessel operating costs saving and need the government supporting and subsidy such a tax policy or other privilege and water transportation in the other form. (3) Some of government and independent organization is not agree for this routing development because the trend of vessel sizing has been continuously increasing. The cargo volume of this the old routing is more attractive. And the other things that they concern to is the routing security and environments impact.-
dc.language.isoth-
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.relation.urihttp://doi.org/10.58837/CHULA.THE.2018.644-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.subjectเส้นทางการค้า -- ไทย-
dc.subjectเรือขนส่งสินค้า-
dc.subjectการค้า-
dc.subjectTrade routes -- Thailand-
dc.subjectCargo ships-
dc.subjectCommerce-
dc.subject.classificationBusiness-
dc.titleการพัฒนาเส้นทางการคมนาคมทางน้ำสำหรับเรือลำเลียงมีเครื่องยนต์เพื่อเชื่อม อ่าวไทยกับทะเลอันดามัน-
dc.title.alternativeDevelopment Of Sea Line Communication For Self-propelled Barge Connecting Gulf Of Thailand And Andaman Sea-
dc.typeThesis-
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต-
dc.degree.levelปริญญาโท-
dc.degree.disciplineการบริหารกิจการทางทะเล-
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.email.advisorKamonchanok.S@Chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.58837/CHULA.THE.2018.644-
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
6087182620.pdf1.75 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.