Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/6346
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorคัคนางค์ มณีศรี-
dc.contributor.authorพิมลรัตน์ ทิศาภาคย์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะจิตวิทยา-
dc.date.accessioned2008-03-21T08:19:50Z-
dc.date.available2008-03-21T08:19:50Z-
dc.date.issued2548-
dc.identifier.isbn9741419732-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/6346-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2548en
dc.description.abstractศึกษาผลของการให้อภัยและการผูกมัดระหว่างบุคคลต่อสุขภาวะทางจิต กลุ่มตัวอย่างเป็นนิสิตนักศึกษาระดับปริญญาตรีจากสถาบันอุดมศึกษาต่างๆ จำนวน 240 คน ผู้วิจัยสุ่มผู้ร่วมการทดลองข้าสู่เงื่อนไขการทดลอง เงื่อนไขละ 60 คน โดยให้ผู้ร่วมการทดลองจินตนาการถึงความขัดแย้งแบบรุนแรง ที่เกิดขึ้นกับบุคคลที่มีการผูกมัดสูงหรือผูกมัดต่ำ แล้วให้ผู้ร่วมการทดลองตัดสินใจให้อภัยหรือไม่ให้อภัยบุคคลนั้น จากนั้นให้ผู้ร่วมการทดลองประเมินมาตรวัดสุขภาวะทางจิตที่ประกอบด้วย ความพึงพอใจในชีวิต ความรู้สึกทางบวก ความรู้สึกทางลบและภาวะการเห็นคุณค่าในตนเอง ผลการวิจัยพบว่า 1. ในเงื่อนไขการผูกมัดสูง การให้อภัยผู้กระทำผิดก่อให้เกิดความพึงพอใจในชีวิตและความรู้สึกทางบวกมากกว่า แต่มีความรู้สึกทางลบน้อยกว่าการไม่ให้อภัย (p<.001 สำหรับทุกตัวแปร) ในขณะที่ภาวะการเห็นคุณค่าในตนเองไม่มีความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ 2. ในเงื่อนไขการผูกมัดต่ำ การให้อภัยผู้กระทำผิดก่อให้เกิดความรู้สึกทางบวกมากกว่า (p<.001) แต่มีความรู้สึกทางลบ (p<.01) น้อยกว่าการไม่ให้อภัย ในขณะที่ความพึงพอใจในชีวิตและภาวะการเห็นคุณค่าในตนเอง ไม่มีความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ 3. การให้อภัยผู้กระทำผิดที่มีการผูกมัดสูงก่อให้เกิดความรู้สึกทางลบ มากกว่าการให้อภัยผู้กระทำผิดที่มีการผูกมัดต่ำ (p<.001) ในขณะที่ความพึงพอใจในชีวิต ความรู้สึกทางบวกและภาวะการเห็นคุณค่าในตนเอง ไม่มีความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ 4. การไม่ให้อภัยผู้กระทำผิดที่มีการผูกมัดสูง ก่อให้เกิดความพึงพอใจในชีวิต และความรู้สึกทางบวกน้อยกว่า แต่มีความรู้สึกทางลบมากกว่าการไม่ให้อภัยผู้กระทำผิดที่มีการผูกมัดต่ำ (p<.001 สำหรับทุกตัวแปร) ในขณะที่ภาวะการเห็นคุณค่าในตนเองไม่มีความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ 5. การให้อภัยก่อให้เกิดความพึงพอใจในชีวิต และความรู้สึกทางบวกมากกว่า แต่มีความรู้สึกทางลบน้อยกว่าการไม่ให้อภัย (p<.001 สำหรับทุกตัวแปร) ในขณะที่ภาวะการเห็นคุณค่าในตนเองไม่มีความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติen
dc.description.abstractalternativeTo examine the effects of forgiveness and the interpersonal commitment on psychological well-being. 240 undergraduate students were randomly assigned to 4 experimental conditions. They were asked to think of a serious conflict with a person to whom they felt weak versus strong commitment and to imagine they had forgiven versus not forgiven this person. Then they were assessed psychological well-being with measures of life satisfaction, positive affect, negative affect, and state self-esteem. Results are as follows 1. When commitment is strong, forgiving the wrongdoers elicits higher level of life satisfaction, positive affect, and lower level of negative affect than not forgiving (all ps<.001) ; there is no significant difference in state self-esteem. 2. When commitment is weak, forgiving the wrongdoers elicits higher level of positive affect (p<.001) and lower level of negative affect (p<.01) than not forgiving ; there are no significant differences in life satisfaction and state self-esteem. 3. Forgiving wrongdoers to whom we feel strong commitment elicits higher level of negative affect than those to whom we feel weak commitment (p<.001) ; there are no significant differences in life satisfaction, positive affect, and state self-esteem. 4. Absence of forgiving the wrongdoers to whom we feel strong commitment exhibits lower level of life satisfaction, positive affect, and higher level of negative affect than those to whom we feel weak commitment (all ps<.001) ; there is no significant difference in state self-esteem. 5. Forgiving elicits higher level of life satisfaction, positive affect, and lower level of negative affect than not forgiving (all ps<.001) ; there is no significant difference in state self-esteem.en
dc.format.extent1337481 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์์มหาวิทยาลัยen
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2005.393-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectการให้อภัยen
dc.subjectความผูกพันen
dc.subjectความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลen
dc.titleผลของการให้อภัยและการผูกมัดระหว่างบุคคลต่อสุขภาวะทางจิตen
dc.title.alternativeThe effects of forgiveness and interpersonal commitment on psychological well-beingen
dc.typeThesises
dc.degree.nameศิลปศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineจิตวิทยาสังคมes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorkakanang.M@chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2005.393-
Appears in Collections:Psy - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Phimonrat.pdf1.31 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.