Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/63478
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสมใจ เพ็งปรีชา-
dc.contributor.advisorนงนุช เหมืองสิน-
dc.contributor.authorเทพบดินทร์ เชื้อประเสริฐ-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์-
dc.date.accessioned2019-09-14T04:05:39Z-
dc.date.available2019-09-14T04:05:39Z-
dc.date.issued2558-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/63478-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2558-
dc.description.abstractในงานวิจัยนี้มีจุดประสงค์เพื่อเตรียมตัวเร่งปฏิกิริยาวิวิธพันธ์ชนิดกรดจากไคโทซานในรูปเม็ดบีดเพื่อผลิตไบโอดีเซล โดยไคโทซานถูกดัดแปรให้มีความเป็นกรดด้วยวิธีซัลโฟเนชัน เม็ดบีดซัลโฟเนเตดไคโทซานถูกนำไปตรวจสอบเพื่อพิสูจน์เอกลักษณ์โดยอาศัยเทคนิค FT-IR, SEM, EDS, TGA, และกรด-เบสไทเทรชัน จากผลการทดลองพบว่าการสังเคราะห์ตัวเร่งปฏิกิริยาโดยวิธีซัลโฟเนชันที่อุณหภูมิ 60 องศาเซลเซียส โดยใช้ระยะเวลา 24 ชั่วโมง ให้ค่าอะตอมกำมะถันเท่ากับร้อยละ 5.03 มีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 0.15 เซนติเมตร และมีค่าความเป็นกรดสูงถึง 11.36 มิลลิโมลต่อกรัม เม็ดบีดซัลโฟเนเตดไคโทซานถูกนำไปใช้ในการสังเคราะห์ไบโอดีเซลซึ่งมีกรดโอเลอิกเป็นสารตั้งต้น พบว่าในการผลิตไบโอดีเซลโดยใช้อัตราส่วนโมลของกรดโอเลอิกต่อเมทานอล 1:20 ปริมาณตัวเร่งปฏิกิริยาเม็ดบีดซัลโฟเนเตดไคโทซานร้อยละ 30 โดยน้ำหนัก ที่อุณหภูมิ 65 องศาเซลเซียส โดยใช้ระยะเวลา 23 ชั่วโมง ให้ค่าเมทิลเอสเทอร์คอนเทนต์สูงถึงร้อยละ 67.34 การเติมโซเดียมซัลเฟตลงไปผสมในปฏิกิริยาสามารถเพิ่มค่าเมทิลเอสเทอร์คอนเทนต์ได้สูงถึงร้อยละ 78.88 ตัวเร่งปฏิกิริยานี้มีความว่องไวในการเร่งปฏิกิริยาและนำกลับมาใช้ได้ใหม่ถึง 2 ครั้ง-
dc.description.abstractalternativeThe main purpose of this research is to prepare the heterogeneous acid catalyst from chitosan in the form of bead for biodiesel production. To prepare the catalyst, chitosan was modified by sulfonation to increase its acidity. Sulfonated chitosan bead was characterized by using Fourier Transform Infrared Spectroscopy (FT-IR), Scanning Electron Microscopy (SEM), Energy Dispersive Spectroscopy (EDS), Thermogavimetric Analysis (TGA), and Acid-Base Titration Techniques. The results indicated that by sulfonating chitosan bead at 60oC for 24 h, this catalyst contained 5.03% of sulfur content with approximately 0.15 cm in diameter, and 11.36 mmol/g of acidity. 67.34% of methyl ester content could be obtained by using the optimum condition as follows: 1:20 mole ratio of oleic acid to methanol with 30% of sulfonated chitosan bead at the temperature of 65oC for a period of 23 h. By adding sodium sulfate into the reaction mixture, the methyl ester content was increased up to 78.88%. For the catalyst reactivity, it could be reused up to 2 times.-
dc.language.isoth-
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.subject.classificationEnergy-
dc.titleการเตรียมตัวเร่งปฏิกิริยาซัลโฟเนเตดไคโทซานสำหรับการผลิตไบโอดีเซล-
dc.title.alternativePreparation Of Sulfonated Chitosan Catalyst For Biodiesel Production-
dc.typeThesis-
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต-
dc.degree.levelปริญญาโท-
dc.degree.disciplineปิโตรเคมีและวิทยาศาสตร์พอลิเมอร์-
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.email.advisorSomchai.pe@chula.ac.th-
dc.email.advisorNongnuj.J@Chula.ac.th-
Appears in Collections:Sci - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
5671971023.pdf4.25 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.