Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/63622
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorโสตถิพงศ์ พิชัยสวัสดิ์-
dc.contributor.authorพัชราภา วงศ์ไชย-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์-
dc.date.accessioned2019-09-14T04:45:59Z-
dc.date.available2019-09-14T04:45:59Z-
dc.date.issued2561-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/63622-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2561-
dc.description.abstractการวิเคราะห์ระบบไฟฟ้ามีความหลากหลายของเงื่อนไขในการกำหนดปัญหา วิทยานิพนธ์ฉบับนี้ได้นำเสนอรูปแบบการวิเคราะห์ปัญหาด้วยวิธีการกำหนดบริเวณที่เป็นไปได้ของโหลดด้วยวิธีกลุ่มอนุภาค เชิงปรับตัวโดยพิจารณาบนระนาบระหว่างแกนกำลังไฟฟ้าจริงและกำลังไฟฟ้าเสมือน โดยปัญหาที่พิจารณาในการวิจัยนี้คือความสามารถในการส่งผ่านพลังงานจากพื้นที่ต้นกำเนิดกำลังงานไฟฟ้าไปยังพื้นที่ปลายทางใดๆ เพื่อสังเกตพฤติกรรมรูปแบบการเปลี่ยนแปลงและผกพันของกำลังงานในแต่ละบัสด้วยวิธีตามรอยขอบประยุกต์กลุ่มอนุภาค โดยการกำหนดจุดขอบของบริเวณที่เป็นไปไม่ได้ของโหลดด้วยการหาระยะทางที่สั้นที่สุดจากจุดโหลดที่เป็นไปไม่ได้หลังจากนั้นจึงใช้วิธีการตามรอยขอบเพื่อหาจุดการทำงานของระบบด้วยวิธีการทางเวกเตอร์และการหาจุดการทำงานที่มีเสถียรภาพในแต่ละบัสด้วยวิธีกลุ่มอนุภาคสลับกันไปจนได้ผลเฉลยรูปแบบจำนวนบัสสูงสุดที่สามารถทำงานได้หากเกิดเหตุการณ์ปลดออกของสายส่ง วิธีการที่นำเสนอได้รับการทดสอบกับระบบ IEEE 24 บัส และระบบไฟฟ้ากำลังของประเทศไทย ซึ่งผลทดสอบแสดงให้เห็นว่าวิธีการดังกล่าว สามารถกำหนดจุดการทำงานในแต่ละบัสด้วยการประยุกต์วิธีกลุ่มอนุภาคในการหาผลเฉลยและกำหนดบริเวณที่เป็นไปได้ของโหลดเมื่อเกิดเหตุการณ์หลุดออกของสายส่งสำหรับการส่งกำลังงานไฟฟ้าระหว่างต้นทางและปลายทางต่างๆได้ ซึ่งจุดการทำงานที่ปรากฏอยู่บนระนาบจะบอกถึงจำนวนบัสสูงสุดที่สามารถทำงานได้ตามปรกติและขีดจำกัดในการเปลี่ยนแปลงของโหลดด้วยปัจจัยต่างๆ เช่น การเพิ่มโหลด การตัดโหลด (การปลดสายส่ง) วิธีการนี้จะทำให้เห็นสภาวะการทำงานของโหลดได้อย่างชัดเจนมากกว่าวิธีการกำหนดของเขตของโหลดแบบดั้งเดิม นอกจากนี้วิธีการใหม่ที่นำเสนอยังสามารถหาขอบเขตนอกสุดของพื้นที่เป็นไปได้ของโหลดก่อนนำมาพิจารณาสภาวะการทำงานของโหลดใหม่ทำให้สามารถพิจารณาพารามิเตอร์ของระบบที่สนใจใหม่ได้อีกด้วย-
dc.description.abstractalternativeThe electrical power system analysis has a wide range of conditions for determination problem, this thesis proposes a method for determining load feasible region adaptive particle swarm optimization on a plane between real power axis and reactive power axis. The considered problem in this research is the transfer capability determination from a source to a sink area for observation the behavior, patterns, changes, and obligations of each bus for accordance with the application of particle swarm optimization. The determination point uses the boundary tracing process by determining a boundary point of load feasible region with the distance minimization from an infeasible loading point approach to determine the point of operation. The next operation points are traced by using vector operations and minimize stability operation points in each bus with particle swarm optimization, repeatedly until obtaining the maximum number of bus that operated when occurs contingency. The proposed method has been tested with IEEE 24 bus system, and Thailand power system. The result shows that this method can determine load feasible region point for several source-sink pairs by applying the particle swarm method. In addition, the new methods presented determination the outermost boundary of load feasible region affected by the considered system parameters.-
dc.language.isoth-
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.relation.urihttp://doi.org/10.58837/CHULA.THE.2018.1239-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.subject.classificationEngineering-
dc.titleการกำหนดบริเวณที่เป็นไปได้ของโหลดโดยวิธีตามรอยขอบด้วยการหาค่าเหมาะที่สุดแบบฝูงอนุภาคปรับตัวได้-
dc.title.alternativeLoad Feasible Region Determination By Using Boundary Tracing Method With Adaptive Particle Swarm Optimization-
dc.typeThesis-
dc.degree.nameวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต-
dc.degree.levelปริญญาโท-
dc.degree.disciplineวิศวกรรมไฟฟ้า-
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.email.advisorSotdhipong.P@Chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.58837/CHULA.THE.2018.1239-
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
5970453321.pdf2.03 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.