Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/63670
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorกุลธิดา โรจน์วิบูลย์ชัย-
dc.contributor.authorวิศทัศน์ ดียิ่ง-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์-
dc.date.accessioned2019-09-14T04:46:50Z-
dc.date.available2019-09-14T04:46:50Z-
dc.date.issued2561-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/63670-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2561-
dc.description.abstractขบวนยานพาหนะขับเคลื่อนอัตโนมัตินั้นมีความท้าทายในการสร้างสูงอันเนื่องมาจากมีความต้องการในการประกาศข้อมูลที่มีความถี่ในการประกาศสูง ประสิทธิภาพของโพรโทคอลซีเอสเอ็มเอ/ซีเอบนมาตรฐานการสื่อสาร IEEE 802.11p นั้นไม่สามารถตอบสนองต่อความต้องการของขบวนยานพาหนะขับเคลื่อนอัตโนมัติได้เนื่องจากความล่าช้าที่ไม่มีขอบเขตโดยเฉพาะกรณีที่มีการใช้งานช่องสัญญาณมาก มีงานวิจัยหลากหลายงานที่นั้นมีการเกี่ยวพันกับชั้นการควบคุมการเข้าถึงสื่อกลางและ/หรือไม่รองรับจำนวนยานพาหนะที่มีการเปลี่ยนแปลงและ/หรือมีจุดเดียวของความล้มเหลว เราเสนอให้ใช้งานการดีซิงโครไนเซชั่นสำหรับยานพาหนะที่มีพื้นฐานมาจากโพรโทคอลทีดีเอ็มเอบนมาตรฐานการสื่อสาร IEEE 802.11p ที่มีอยู่ทั่วไปแล้ว โดยยังสามารถรองรับจำนวนยานพาหนะที่มีการเปลี่ยนแปลงและไม่มีจุดเดียวของความล้มเหลว เราได้เสนอช่วงการตั้งค่าที่เหมาะสมกับการใช้งานขบวนยานพาหนะขับเคลื่อนอัตโนมัติ จากผลการทดลองได้แสดงว่าเมื่อใช้งานช่วงการตั้งค่าที่เราเสนอ การดีซิงโครไนเซชั่นสามารถรองรับการประกาศข้อมูลที่มีความถี่สูงในสถานการณ์ที่มียานพาหนะสูงสุดถึง 16 คัน ที่การประกาศข้อมูล 100 รอบต่อวินาที และมีประสิทธิภาพที่ดีกว่าโพรโทคอลซีเอสเอ็มเอ/ซีเอ ในกรณีที่เกิดความล้มเหลว จากผลการทดลองได้แสดงว่าการดีซิงโครไนเซชั่นสำหรับยานพาหนะนั้นไม่ได้มีผลกระทบที่ร้ายแรงอันเนื่องมาจากความล้มเหลวเมื่อเปรียบเทียบกับงานวิจัยอื่น-
dc.description.abstractalternativePlatooning is a challenging application because it requires a frequent rate of beaconing. Performance of traditional Carrier Sense Multiple Access with Collision Avoidance method (CSMA/CA) on IEEE 802.11p is unable to satisfy for platooning needs due to unbounded delay especially under high channel load. Several researches about platooning are involved with medium access control (MAC) layer modification in a protocol stack and/or does not support variable number of vehicles and/or have a single point of failure. We propose to use a vehicular desynchronization TDMA-based protocol over off-the-shelf IEEE 802.11p, while supporting vehicles joining and leaving a platoon and having no single point of failure. We recommend a range of parameters that are suitable for the platooning application. Our evaluation shows that using our suggested parameters, the vehicular desynchronization protocol could support a high-frequency beaconing with up to 16 vehicles at 100 Hz beaconing. It is also has a better performance compared to traditional CSMA/CA. In case of failure, our evaluation shows that the vehicular desynchronization does not have a severe consequence due to the failure compared to other publications.-
dc.language.isoth-
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.relation.urihttp://doi.org/10.58837/CHULA.THE.2018.1263-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.subject.classificationComputer Science-
dc.titleระบบการสื่อสารแบบดีซิงโครไนเซชั่นสาหรับขบวนยานพาหนะขับเคลื่อนอัตโนมัติ-
dc.title.alternativeDesynchronization Communication System For Automatic Vehicle Platooning-
dc.typeThesis-
dc.degree.nameวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต-
dc.degree.levelปริญญาโท-
dc.degree.disciplineวิศวกรรมคอมพิวเตอร์-
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.email.advisorKultida.R@Chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.58837/CHULA.THE.2018.1263-
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
6070314221.pdf4.29 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.