Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/63704
Title: Impact of Migration and Remittances on Children's Human Capital in Cambodia
Other Titles: ผลกระทบของการย้ายถิ่นและเงินส่งกลับต่อทุนมนุษย์ของเด็กในกัมพูชา
Authors: Vatana Chea
Advisors: Patcharawalai Wongboonsin
Other author: Chulalongkorn University. College of Population Studies
Advisor's Email: Patcharawalai.W@Chula.ac.th
Issue Date: 2018
Publisher: Chulalongkorn University
Abstract: This dissertation investigates the impacts of migration and remittances on human capital development of left-behind children in Cambodia. It contributes new evidence to a controversial debate in the literature on long-term impacts of migration and of remittances on the children. This is from the perspective of education, health, and consumption in remittance-recipient households compared with those in non-recipient ones. It relies on pooled data from Cambodia Socio-Economic Survey of 2009 and 2014, each of which comprises around 12,000 households in both rural and urban areas across all 25 provinces there. To evaluate the impact on household educational investment, the study firstly uses Hurdle Regression to correct for endogeneity, then Generalized Linear Model to deal with non-normality and heteroskedasticity of error. To evaluate the influence of remittances on children’s health, a classic Two Stage Least Squares is employed. For the effect on consumption, a counterfactual scenario of no migration and no remittances is constructed and used as a benchmark to compare with actual recipient household conditions. Heckman Two-Step estimation is also applied to control for selection into migration. The principal findings, though not exhaustive, are as follow: (1) Even for a specific country, different methods used to examine the same issues can lead to conflicting conclusions. (2) Different timing in the receipt of remittances can significantly lead to different expenditure patterns. (3) Source of remittances matters more than their amount in term of impact on children’s human capital. (4) International remittances are found to have reduced household investment in children’s education. (5) Nevertheless, they tend to have a positively significant influence on children’s health outcome, nutrition, and general consumption. (6) Households indeed have prior purposes of sending migrants and receiving remittances and what types of expenditure remittances will be channeled toward. Policy intervention is encouraged to direct more of these financial aids towards long-term household investment such as agricultural and business activities and children.
Other Abstract: วิทยานิพนธ์ฉบับนี้ศึกษาผลกระทบของการย้ายถิ่นและเงินส่งกลับที่มีต่อการพัฒนาทุนมนุษย์ของเด็กที่ถูกทิ้งไว้ข้างหลังในกัมพูชา มีการนำเสนอหลักฐานใหม่รองรับข้อถกเถียงในวรรณกรรมเกี่ยวกับผลกระทบระยะยาวของการย้ายถิ่นและเงินส่งกลับที่มีต่อเด็ก จากมุมมองด้านการศึกษา ด้านสุขภาพและด้านการบริโภคในครัวเรือนที่รับเงินส่งกลับเปรียบเทียบกับในครัวเรือนที่ไม่ได้รับเงินกลับ โดยอาศัยข้อมูลรวมภาคตัดขวางจากการสำรวจเศรษฐกิจและสังคมของประเทศกัมพูชาในปี 2552 และ 2557 ซึ่งแต่ละครั้งประกอบด้วยครัวเรือนประมาณ 12,000 ครัวเรือนทั้งในชนบทและในเมือง ทั้งหมด 25 จังหวัดทั่วประเทศ ในการศึกษาผลกระทบต่อการลงทุนในครัวเรือนด้านการศึกษาของเด็กนั้น เริ่มจากการใช้ Hurdle Regression เพื่อควบคุมปัญหา endogeneity ก่อนแล้วตามด้วย Generalized Linear Model เพื่อจัดการกับปัญหาข้อมูลกระจายตัวแบบไม่ปกติ และความคลาดเคลื่อนในลักษณะที่มีความไม่เท่ากันของความแปรปรวน ส่วนการศึกษาอิทธิพลของเงินส่งกลับที่มีต่อสุขภาพของเด็กนั้น ใช้รูปแบบ Two Stage Least Squares ในขณะที่การศึกษาผลกระทบต่อการบริโภค มีการสร้างสภาพการณ์จำลองของผลลัพธ์ในทางตรงกันข้ามเมื่อไม่มีการย้ายถิ่นและไม่มีการส่งเงินกลับ และใช้เป็นเกณฑ์เปรียบเทียบกับสภาพการณ์ของครัวเรือนที่รับเงินส่งกลับจริง ทั้งนี้ ใช้การประมาณสองขั้นตอนของ Heckman เพื่อควบคุมการเลือกสำหรับการย้ายถิ่นด้วย การค้นพบที่สำคัญแม้ว่าจะไม่ครบถ้วนสมบูรณ์มีดังต่อไปนี้: (1) ในประเทศหนึ่งๆ การใช้วิธีการที่แตกต่างกันในการศึกษาประเด็นเดียวกันอาจนำไปสู่ข้อสรุปที่ขัดแย้งกัน (2) เวลาที่แตกต่างกันในการรับเงินส่งผลสามารถนำไปสู่รูปแบบค่าใช้จ่ายที่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญ (3) แหล่งที่มาของเงินส่งกลับมีความสำคัญมากกว่าจำนวนเงินในการส่งผลกระทบต่อทุนมนุษย์ของเด็ก (4) เงินส่งกลับจากต่างประเทศส่งผลเชิงลบต่อการลงทุนในครัวเรือนด้านการศึกษาของเด็ก (5) อย่างไรก็ตาม วิทยานิพนธ์นี้พบว่า เงินส่งกลับจากต่างประเทศนั้น ส่งผลเชิงบวกอย่างมีนัยสำคัญต่อสุขภาพของเด็ก ตลอดจนโภชนาการและการบริโภคทั่วไป (6) ครัวเรือนมีจุดประสงค์อยู่ก่อนแล้วทั้งในการส่งสมาชิกให้ย้ายถิ่นออกไป การได้รับเงินส่งกลับ ตลอดจนประเภทของค่าใช้จ่ายที่จะใช้จากเงินส่งกลับนั้น จึงจำเป็นต้องมีการแทรกแซงเชิงนโยบายให้มีการนำส่งเงินกลับไปใช้ลักษณะที่เป็นการลงทุนภาคครัวเรือนระยะยาวมากขึ้น เช่น กิจกรรมการเกษตร ธุรกิจ และเด็กๆ
Description: Thesis (Ph.D.)--Chulalongkorn University, 2018
Degree Name: Doctor of Philosophy
Degree Level: Doctoral Degree
Degree Discipline: Demography
URI: http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/63704
URI: http://doi.org/10.58837/CHULA.THE.2018.169
metadata.dc.identifier.DOI: 10.58837/CHULA.THE.2018.169
Type: Thesis
Appears in Collections:Pop - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
5986953551.pdf1.47 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.