Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/6380
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorนเรศร์ จันทน์์ขาว-
dc.contributor.advisorสุพิชชา จันทรโยธา-
dc.contributor.authorวิศิษฎ์ ปฐมชัยวาลย์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์-
dc.date.accessioned2008-03-24T09:27:25Z-
dc.date.available2008-03-24T09:27:25Z-
dc.date.issued2548-
dc.identifier.isbn9741736754-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/6380-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2548en
dc.description.abstractงานวิจัยนี้นำเสนอเทคนิคสำหรับหาปริมาณปรอทในตัวอย่างสลัดจ์จากการผลิตปิโตรเลียมเทคนิค หลายอย่างไม่สามารถให้ผลที่น่าเชื่อถือได้ เนื่องจากความไม่เป็นเนื้อเดียวกันของปรอทในตัวอย่าง เทคนิคการส่งผ่านรังสีแกมมาสองพลังงานถูกใช้อย่างกว้างขวางในการวิเคราะห์ตัวอย่างปริมาณมาก ที่ไม่เป็นเนื้อเดียวกัน อย่างเช่น แร่และถ่านหิน รังสีแกมมาพล้งงาน 122 และ 136 keV จากโคบอลต์ -57ที่เลือกมีพลังงานสูงกว่าค่า K-absorption edge ของปรอทเล็กน้อย จึงมีความไวต่อการเปลี่ยนแปลง ของปรอทในตัวอย่าง ในขณะที่รังสีแกมมาพลังงาน 662 keV จากซีเซียม-137 ใช้ในการปรับแก้ความ แตกต่างของความหนาของตัวอย่างโดยใช้หัววัดรังสีโซเดียมไอโอไดด์(ทัลเลียม)ขนาด 1 นิ้ว x 1 นิ้ว ซี่งต่อเข้ากับเครื่องวิเคราะห์แบบหลายช่องแบบพกพาในการวัดรังสีแกมมาดังกล่าว เริ่มแรกได้ทดสอบ เทคนิคนี้กับตัวอย่างดินผสมตะกั่วก่อน แล้วจึงทดสอบกับตัวอย่างสลัดจ์ ซึ่งผลที่ได้เป็นที่น่าพอใจ หากมี การปรับเที่ยบที่เหมาะสม สามารถทำเทคนิคที่นำเสนอนี้ ไปประยุกต์ใช้ในการหาปริมาณปรอทในตัวอย่าง สลัดจ์จากการผลิตปิโตรเลียมและตัวอย่างอื่นๆ ที่มีปรอทปนเปื้อนen
dc.description.abstractalternativeThis research proposes a technique for determining mercury (Hg) in sludge samples from petroleum production. Due to inhomogeneity of Hg in the samples, several techniques may fail to give reliable analysis results. The dual gamma-ray transmission technique has been widely used for bulk analysis of inhomogeneous samples like ores and coals. The selected gamma-rays emitted from 57Co, 122 and 136 KeV, were just above the Hg K-absorption edge thus sensitive to changes in Hg content in the sample while 662-keV gamma-rays from 137 Cs were used to normalize differences in sample density thickness. A1'' x1''Nal (TI) detector coupled with a pocket multichannel analyzer was used to detect the gamma-rays. The technique was first tested with soil samples containing lead (Pb) and finally with the sludge samples. The results were found to be satisfactory. With appropriate calibration, the proposed technique could be applied for determining Hg in sludge samples from petroleum production and any other Hg contaminated samples.en
dc.format.extent1250254 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์์มหาวิทยาลัยen
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2005.1784-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectปรอทen
dc.subjectรังสีแกมมาen
dc.subjectกากตะกอนน้ำเสียen
dc.subjectปิโตรเลียมen
dc.titleการหาปริมาณปรอทโดยเทคนิคการส่งผ่านรังสีแกมมา : กรณีศึกษาตัวอย่างสลัดจ์จากการผลิตปิโตรเลียมen
dc.title.alternativeDetermination of mercury contents using gamma-ray transmission technique : A case study of sludge samples from petroleum productionen
dc.typeThesises
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineนิวเคลียร์เทคโนโลยีes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorfnenck@eng.chula.ac.th-
dc.email.advisorSupitcha.C@Chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2005.1784-
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
wisit.pdf1.22 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.