Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/6391
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorกิดานันท์ มลิทอง-
dc.contributor.authorรัศมี ทองสิงห์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะครุศาสตร์-
dc.date.accessioned2008-03-26T11:04:39Z-
dc.date.available2008-03-26T11:04:39Z-
dc.date.issued2548-
dc.identifier.isbn9741757662-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/6391-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2548en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ เพื่อเปรียบเทียบผลของการเรียนด้วยวีธีสตอรี่ไลน์ในการเรียน อิเล็กทรอนิกส์ที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น ที่มีแบบการเรียน ต่างกัน กลุ่มตัวอย่างเป็นนักเรียนที่กำลังศึกษาในระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น โดยการเลือกแบบ เจาะจงจากนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ของโรงเรียนสุรศักดิ์มนตรี กลุ่มตัวอย่างได้รับการทดสอบ แบบวัดรูปแบบการเรียนของคอล์บ เพื่อจำแนกนักเรียนออกเป็น 4 กลุ่ม กลุ่มละ 25 คน คือ แบบคิด อเนกนัย แบบดูดซึม แบบคิดเอกนัย และแบบปรับปรุง เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย เว็บการเรียนอิเล็กทรอนิกส์โดยใช้การเรียนด้วยวิธีสตอรี่ไลน์ แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทาง การเรียน แบบสำรวจรูปแบบการเรียนของคอล์บ และ แบบสอบถามความคิดเห็นเกี่ยวกับการเรียน ด้วยวิธีสตอรี่ไลน์ในการเรียนอิเล็กทรอนิกส์ การวิเคราะห์ข้อมูลโดยคำนวณค่าเฉลี่ย ส่วยเบี่ยงเบน มาตรฐาน การทดสอบค่าที และการวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว ผลการวิจัยพบว่า 1. กลุ่มตัวอย่าง ที่เรียนด้วยวิธีสตอรี่ไลน์ในการเรียนอิเล็กทรอนิกส์มีคะแนนผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน หลังเรียนสูงกว่าคะแนนผลสัมฤทธิ์ก่อนเรียน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 2. กลุ่มตัวอย่าง ที่มีแบบการเรียนต่างกันมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนไม่แตกต่างกัน 3. กลุ่มคัวอย่างแสดงความ คิดเห็นว่าการเรียนด้วยวิธีสตอรี่ไลน์ในการเรียนอิเล็กทรอนิกส์ มีความเหมาะสมในระดับมากทุกข้อen
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this study was to study effects of storyline-based electronic learning upon social studies learning achievement of lower secondary school students with different learning styles. The samples were purposively selected from Mathayom Suksa One students from Surasakmontri School. They were measured by Kolb Learning Style Inventory to determine a learning style profile of four styles ; divergent learning style, assimilative learning style, convergent learning style and accommodative learning style. The research instruments were a web of storyline-based electronic learning, learning achievement test, Kolb Learning Style Inventory, and questionnaire on students{7f2019} opinions towards storyline-based electronic learning. Descriptive statistics, t-test dependent and One-way Analysis of Variance were used to analyze the results of this study. The research results were as follows: 1. The learning achievement of students after learning by using storyline-based electronic learning was higher than the pretest at the .05 level of significance. 2. There were no statistical significant differences on learning achievement among students with different learning styles. 3. The students{7f2019} opinions towards storyline-based electronic learning were at thigh level in all items.en
dc.format.extent4153498 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectสังคมศึกษา -- การศึกษาและการสอน (มัธยมศึกษา)en
dc.subjectการเรียนการสอนผ่านเว็บen
dc.subjectการศึกษาในลักษณะสหวิชาen
dc.titleผลของการเรียนด้วยวิธีสตอรี่ไลน์ในการเรียนอิเล็กทรอนิกส์ที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสังคมศึกษาของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนต้นที่มีแบบการเรียนต่างกันen
dc.title.alternativeEffects of storyline-based electronic learning on social studies learning achievement of lower secondary school students with different learning stylesen
dc.typeThesises
dc.degree.nameครุศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineโสตทัศนศึกษาes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorKidanand.M@chula.ac.th-
Appears in Collections:Edu - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Rusamee_To.pdf4.06 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.