Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/64079
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorมนตรี ชูวงษ์-
dc.contributor.authorพันธกานต์ พรมยะ-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์-
dc.date.accessioned2019-12-18T02:41:42Z-
dc.date.available2019-12-18T02:41:42Z-
dc.date.issued2560-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/64079-
dc.descriptionโครงงานเป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาธรณีวิทยา คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีการศึกษา 2560en_US
dc.description.abstractเมืองโบราณอู่ทองถือว่าเป็นเมืองโบราณที่สำคัญในประวัติศาสตร์ ซึ่งตัง้ อยู่ทางทิศตะวันตกของ จังหวัดสุพรรณบุรีบนที่ราบลุ่มภาคตอนล่าง จากรายการวิจัยในอดีตพบว่าบริเวณที่ราบลุ่มภาคกลาง ตอนล่างเคยได้รับอิทธิพลการรุกเข้ามาของน้ำทะเล เมื่อเวลา 6000-7000 ปีมาแล้ว โครงการวิจัยนี้มี วัตถุประสงค์เพื่อจำแนกชนิดของละอองเรณูที่ถูกเก็บรักษาไว้ในตะกอนจากแหล่งโบราณคดีเมืองอู่ ทองและเพื่อระบุสะภาพแวดล้อมของพื้นที่ศึกษาโดยใช้ละอองเรณูเป็นตัวจำแนกสภาพแวดล้อม เรณู วิทยาเป็ นตัวบ่งชี้หนึ่งที่มีการใช้ ศึกษาสภาพแวดล้อมบรรพกาลอย่างแพร่หลาย เนื่องจาก ลักษณะเฉพาะของสัณฐานเรณูสามารถบ่งบอกชนิดของพืชได้ ทำให้ทราบสภาพแวดล้อมที่พืชชนิด นั้นมีการเจริญเติบโต ในการศึกษาครั้ง นี้จะนำตัวอย่างจากแท่งตะกอนจำนวน 3 แท่ง ที่ได้จากอำเภอ อู่ทองจังหวัดสุพรรณบุรีมาทำการจำลองสภาพแวดล้อม ใช้จำนวนตะกอน 9 ตัวอย่าง เพื่อนำมาสกัด ละอองเรณูออกจากชั้น ตะกอนแล้วนำไปวิเคราะห์เพื่อนำไปบ่งบอกการเปลี่ยนแปลงของ สภาพแวดล้อมบริเวณพื้นที่ศึกษา จากการศึกษากลุ่มของละอองเรณู สามารถจำแนกกลุ่ม ของพืชตามสภาพแวดล้อมได้ 3 สภาพแวดล้อม ได้แก่ สภาพแวดล้อมป่ าชายเลน, สภาพแวดล้อมหลังป่าชายเลน และสภาพแวดล้อม แบบน้ำจืด วิวัฒนาการของเขตพื้นที่ศึกษาเริ่มจากสภาพแวดล้อม ที่มน้ำทะเลรุก เข้ามาทำให้สะภาพแวดล้อมเป็นทะเล ต่อมาน้ำทะเลลดระดับทำให้เกิดสภาพแวดล้อมป่าชายเลน ระดับน้ำทะเลลดต่อเนื่องสภาพแวดล้อมในพื้นที่เปลี่ยนไปเป็น สภาพแวดล้อมหลังป่าชายเลน จากนั้น สภาพแวดล้อมในพื้นที่ศึกษาได้เปลี่ยนเป็นสภาพแวดล้อมแบบน้ำจืดen_US
dc.description.abstractalternativeThe ancient city of U-Thong is considered an important historical city. It is located in the western part of Suphan Buri Province on the lower central plain. From the previous researches, it was found that the lower central plain was influenced by the incursion of sea water to reach the maximum high stand at 6000-7000 years ago. The objective of this project was to identify the pollen grains preserved in the sediment cores drilled from the east of UThong ancient city and to interpret the depositional environment using palynology. Pollens have specific morphology and can be traced back to their parents. In this study,9 sediment samples extracted from 3 cores have been analyzed. Pollen assemblages can be divided into 3 zones followed their ecology, i.e. mangrove, back mangrove, and freshwater. Mangrove, back mangrove and freshwater swamp environment were dominated by Rhizophora, Acrostichum and family Poaceae. respectively. Based on stratigraphy and pollen analysis, the evolution of the study area started with marine environment, then, mangrove and finally changed to freshwater.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectตะกอนวิทยา -- ไทย -- สุพรรณบุรีen_US
dc.subjectละอองเกสรen_US
dc.subjectพฤกษชาติen_US
dc.subjectSedimentology -- Thailand -- Suphan Buri provinceen_US
dc.subjectPollenen_US
dc.subjectPlantsen_US
dc.titleการจำแนกชนิดของละอองเรณูในแท่งตะกอน จากอำเภออู่ทอง จังหวัดสุพรรณบุรีen_US
dc.title.alternativeClassification of pollen in sediment core from U-Thong district, Suphan Buri provinceen_US
dc.typeSenior Projecten_US
dc.email.advisorMontri.C@Chula.ac.th-
Appears in Collections:Sci - Senior Projects

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Senior_project_Pantakarn Promya.pdf3.06 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.