Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/64080
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | สุเมธ พันธุวงค์ราช | - |
dc.contributor.advisor | ฐานบ ธิติมากร | - |
dc.contributor.author | ปาณัสม์ รักกสิกร | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์ | - |
dc.date.accessioned | 2019-12-18T02:56:02Z | - |
dc.date.available | 2019-12-18T02:56:02Z | - |
dc.date.issued | 2560 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/64080 | - |
dc.description | โครงงานเป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาธรณีวิทยา คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีการศึกษา 2560 | en_US |
dc.description.abstract | พื้นที่ชายฝั่งบริเวณหาดแม่รำพึงเป็นชายฝั่งทางด้านทิศตะวันตกของอ่าวไทยตั้งอยู่อำเภอบางสะพานจังหวัดประจวบคีรีขันธ์ เป็นชายฝั่งที่พบเนินทรายลมหอบความสูง 6-7 เมตรจากระดับน้ำทะเล มีความยาวตลอดชายฝั่งมากกว่า 5 กิโลเมตรแลหยุดการพัฒนาสะสมตัวของเนินทรายลมหอบแล้วโดยมีพืชพรรณขึ้นปกคลุมทั้งหมด งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาลักษณะการสะสมตัวและจาแนกลาดับตะกอนของเนินทรายลมหอบ โดยวิธีการสำรวจทางธรณีฟิสิกส์ด้วยเครื่องมือ Ground Penetrating Radar (GPR) ร่วมกับการเจาะสำรวจตะกอนในแนวดิ่งด้วยสว่านมือ(Hand Auger) และการวัดความสูง-ต่ำภูมิประเทศ ขั้นตอนการศึกษาโดยสำรวจด้วยเครื่อง GPR ใช้ความถี่ในการสำรวจ 2 ความถี่ คือ 200MHz. และ 400MHZ. โดยเลือกจุดลากเก็บข้อมูลทั้งหมด 8 แนวที่ความยาว 60-230 เมตร ในทิศทางขนานชายฝั่งและตั้งฉากกับชายฝั่งจากนั้นทำการเจาะตะกอนในแนวดิ่ง เพื่อจำแนกสมบัติของตะกอนทางกายภาพ และนำกลับมาวิเคราะห์ในห้องปฏิบัติการเพื่อหาค่าการกระจายตัวของขนาดตะกอน(Grain Size Analysis) จากนั้นนำข้อมูลเทียบเคียงกับการสำรวจจาก GPR และการทำการวัดความสูง-ต่ำภูมิประเทศเพื่อปรับค่าสัญญาณให้เป็นความสูง-ต่ำของภูมิประเทศจริง ผลการแปลสัญญาณจากเครื่อง GPR และเทียบเคียงกับตะกอนในหลุมสำรวจพบว่าสามารถแยกชั้นตะกอนออกเป็น 2 กลุ่มหลักคือ ชั้นบนเป็นเนินทรายลมหอบ และชั้นล่างเป็นตะกอนชายหาดเดิม ลักษณะการสะสมตัวของเนินทรายลมหอบที่อยู่ด้านบนพบสัญญาณ GPR แสดงลักษณะการเอียงเทของชั้นตะกอนเข้าหาแผ่นดิน ซึ่งความหนาของชั้นตะกอนจะลดลงในทิศทางจากทะเลเข้าสู่แผ่นดิน ส่วนลักษณะการสะสมตัวของตะกอนชายหาดเดิมอยู่ด้านล่างสัญญาณ GPR แสดงชั้นการเอียงเทของตะกอนออกสู่ทะเลเป็นหลัก โดยขนาดตะกอนของเนินทรายลมหอบมีขนาดทรายละเอียด ส่วนขนาดตะกอนชายหาดเดิมมีขนาดทรายปานกลางถึงทรายหยาบมาก | en_US |
dc.description.abstractalternative | Coastal sand dune height 6-7 meter from sea level was found along the coast of Mae Ram Phung beach, the western part of the Gulf of Thailand, Bang Saphan District, Prachuap Khiri Khan Province. This outstanding coastal dune is length over 5 kilometer in north-south direction and is now not active anymore as seen from the covering tree over the surface of sand dune. The purpose of this research is to study the sedimentary characteristic of sand dune and classified layer of sediment by using Ground Penetrating Radar (GPR). Sediment drilling in vertical by Hand Auger and topography survey by total station also performed. For GPR machine we used 2 frequency include; 200MHz. and 400MHz. Scope of this research limited to analyze GPR from 8 survey lines which are 60m and 230m, that position is parallel and perpendicular to the coastline respectively. Subsequently, GPR data and sedimentary data from coring were compiled together and used for interpret the GPR signal. From the result, we can indicate the unit of sediment deposits in this two groups. The upper part is sand dune units which GPR signal show the inclination of sediment layer in landward direction. The thickness of sand dune also decreasing in landward side. The lower part is the old beach unit which GPR signal shows the inclination of sediment in seaward direction. Average grain size of sand dune is fine sand with a well sorted. In contrast, old beach show the average grain size in a range of medium sand-to-very coarse sand with a poor sorted. | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.subject | ตะกอน (ธรณีวิทยา) -- ไทย -- ประจวบคีรีขันธ์ | en_US |
dc.subject | การตกตะกอนชายฝั่ง | en_US |
dc.subject | Sediments (Geology) -- Thailand -- Prachuap Khiri Khan | en_US |
dc.subject | Marine sediments | en_US |
dc.subject | เนินทราย -- ไทย -- ประจวบคีรีขันธ์ | - |
dc.subject | Sand dunes -- Thailand -- Prachuap Khiri Khan | - |
dc.title | ลักษณะการสะสมตัวของเนินทรายลมหอบชายฝั่งทะเล โดยการหยั่งธรณีฟิสิกส์บริเวณอำเภอบางสะพาน จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ | en_US |
dc.title.alternative | Depositional Characteristic of Coastal by Geophysical Method At Bang Saphan District, Prachuap Khiri Khan Province | en_US |
dc.type | Senior Project | en_US |
dc.email.advisor | Sumet.P@chula.ac.th | - |
dc.email.advisor | Thanop.T@Chula.ac.th | - |
Appears in Collections: | Sci - Senior Projects |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Senior_project_Panut Rakkasikorn.pdf | 3.74 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.