Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/64087
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | สำเรียง เมฆเกรียงไกร | - |
dc.contributor.author | ศุทธินี เสนีวงศ์ ณ อยุธยา | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะนิติศาสตร์ | - |
dc.date.accessioned | 2019-12-18T07:14:00Z | - |
dc.date.available | 2019-12-18T07:14:00Z | - |
dc.date.issued | 2561 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/64087 | - |
dc.description | เอกัตศึกษา (ศศ.ม.)—จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2561 | en_US |
dc.description.abstract | ด้วยประกาศกระทรวงสาธารณสุข เลขที่ 388 พ.ศ. 2561 เรื่อง กำหนดอาหารที่ห้ามผลิตนำเข้าหรือจำหน่าย กำหนดให้น้ำมันที่ผ่านกระบวนการเติมไฮโดรเจนบางส่วน (ใขมันทรานส์) และอาหารที่มีไขมันทรานส์เป็นส่วนประกอบ เป็นอาหารห้ามผลิต นำเข้า หรือจำหน่าย ได้ให้เวลาแก่ผู้ประกอบการร้านอาหารและเบเกอรี่ เตรียมตัวเพื่อบังคับใช้กฎหมายกังกล่าวน้อยมาก กล่าวคือ เพียง 180 วัน นับแต่วันที่ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เป็นต้นไป ทำให้เกิดผลกระทบต่อผู้ประกอบการดังกล่าว เป็นอันมากกล่าวคือ ผู้ประกอบการรายย่อยและผู้ผลิตรายเล็ก ๆ อีกจำนวนมากที่อาจปรับตัวไม่ทันในการปฏิบัติตามกฎหมายเพราะต้องใช้เวลาในการปรับสูตรอาหารและกระบวนการผลิต การเปลี่ยนฉลากบรรจุภัณฑ์อาหาร และยังทำให้ต้นทุนอาหารเพิ่มสูงขึ้นทำให้ผู้บริโภคได้รับผลกระทบอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ในการต้องซื้ออาหารในราคาที่แพงขึ้น รวมทั้งการที่ผู้ประกอบการบางส่วนได้เปลี่ยนกระบวนการผลิตเป็นวิธีอินเตอร์เอสเทอริฟิเคชัน (interesterification) เพื่อลดกรดไขมันทรานส์ให้เหลือในปริมาณที่ต่ำมากซึ่งก็ส่งผลกระทบต่อสุขภาพของผู้บริโภคเช่นกัน เมื่อได้มีการศึกษาวิเคราะห์ประเด็นปัญหาและผลกระทบจากการออกประกาศของกระทรวงสาธารณสุขดังกล่าวข้างต้นแล้ว ผู้ศึกษาจึงเป็นสมควรให้มีการแก้ไขเพิ่มเติมประกาศกระทรวงสาธารณสุขดังกล่าว โดยขยายระยะเวลาเพื่อบังคับใช้กฎหมายออกไปเป็น 3 ปี ทำนองเดียวกับกฎหมายของประเทศสหรัฐอเมริกา และควรมีมาตรการให้ความช่วยเหลือผู้ประกอบการดังกล่าวและมาตรการในการคุ้มครองผู้บริโภคด้านราคาเพื่อให้เกิดความเป็นธรรมแก่ผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่าย | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.relation.uri | http://doi.org/10.58837/CHULA.IS.2018.8 | - |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.subject | กรดไขมันทรานส์ | en_US |
dc.subject | การคุ้มครองผู้บริโภค | en_US |
dc.subject | อาหาร--การเจือปนและการตรวจสอบ | en_US |
dc.title | ผลกระทบของผู้ประกอบการและผู้บริโภคจากการออกประกาศกระทรวงสาธารณสุขกำหนดอาหารที่ห้ามผลิต นำเข้า หรือจำหน่าย ไขมันทรานส์ | en_US |
dc.type | Independent Study | en_US |
dc.degree.name | ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต | en_US |
dc.degree.level | ปริญญาโท | en_US |
dc.degree.discipline | กฎหมายเศรษฐกิจ | en_US |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.email.advisor | ไม่มีข้อมูล | - |
dc.subject.keyword | ไขมันทรานส์ | en_US |
dc.subject.keyword | สุขภาพ | en_US |
dc.subject.keyword | การคุ้มครองผู้บริโภค | en_US |
dc.subject.keyword | การผลิตอาหาร | en_US |
dc.subject.keyword | กระทรวงสาธารณสุข | en_US |
dc.identifier.DOI | 10.58837/CHULA.IS.2018.8 | - |
Appears in Collections: | Law - Independent Studies |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
6086237334.pdf | 2.46 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.