Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/64092
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorKantapon Suraprasit-
dc.contributor.authorSiriwarin Ninputsa-
dc.contributor.otherChulalongkorn University. Faculty of Science-
dc.date.accessioned2019-12-18T09:18:36Z-
dc.date.available2019-12-18T09:18:36Z-
dc.date.issued2017-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/64092-
dc.descriptionโครงงานเป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาธรณีวิทยา คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีการศึกษา 2560en_US
dc.description.abstractIn July, 2017, fossils from Phimai and Chalermprekiet sand pits (Nakhon Ratchasima province) were collected by paleontologists from Chulalongkorn University cooperated with the Department of Mineral Resources (DMR). The paleontological excavation has yielded 16 specimens of equid fossils consisting of 6 isolated teeth (4 upper and 2 lower teeth, 1 maxilla, and 9 mandibles. We identify here these equid fossils at the genus level. In order to understand the morphological changes through wear, we use a Computerized Tomography Scan (CT-scan) method to observe occlusal sections at the different high levels of tooth crowns because the cusps of teeth have morphologically changed in relation to different wear stages through the crown height of fossil equids. As a result of the study, we identify equid specimens as belonging to Hipparion cf. chiai and Hipparion sp. The former species is characterized by elongated and sub angular protocones, sub-angular shapes of hypocones, and short enamel plications of pre- and postfossettes. In addition, the morphological patterns of occlusal surface changes in each stages of wear in lower cheek teeth are similar to those of Hipparion cf. chiai (Li et al., 2017). Hipparion cf. chiai is widely distributed in the middle region of China and smaller-sized Hipparion sp. that has a rounded protocone and incomplete plication in pre- and posfossettes. Double knot in lower teeth of Hipparion sp. differs from Hipparion in Pakistan and India, but mostly similar to Hipparion in China. According to the presence of these equids, the paleoenvironments of Khorat sand pits corresponded to a forest and the age of this genus is thus considered to be the Late Miocene.en_US
dc.description.abstractalternativeจากการเข้าศึกษาซากดึกดำบรรพ์เมื่อ เดือน กรกฎาคม พ.ศ. 2560 ในบริเวณบ่อทราย อำเภอพิมาย และ อำเภอเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดนครราชสีมา ทีมนักบรรพชีวินวิทยาจากจุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัยและกรมทรัพยากรธรณี ได้ค้นพบชิ้นส่วนชองซากดึกดำบรรพ์ฟันม้าทั้งหมด 16 ชิ้น ประกอบไปด้วย ฟันเดี่ยวจำนวน 6 ซี่ แบ่งเป็นฟันล่าง 2 ซี่ ฟันบน 4 ซี่ และ กรามจำนวน 10 ชิ้น แบ่งเป็นกรามล่าง 9 ชิ้น และกรามบน 1 ชิ้น จากการศึกษาทางอนุกรมวิธานเพื่อระบุสกุลของตัวอย่าง เหล่านี้ โดยใช้วิธีการเปรียบเทียบขนาดและลักษณะของฟันกับผลการวิจัยที่เคยมีมา โดยการ เปรียบเทียบลักษณะของหน้าฟันจะต้องทำในระดับความสูงของฟันเดียวกัน เนื่องจากฟันม้านั้นมีหน้า ฟันที่มีการเปลี่ยนแปลงไปตามระดับการสึก เพื่อไม่เป็นการทำลายตัวอย่างจึงใช้วิธีการวิเคราะห์ภาพ หน้าตัดฟันในแต่ละระดับการสึกจากผลของเครื่องเอกซเรย์คอมพิวเตอร์ (Computerized Tomography Scan, CT Scan) และนำภาพหน้าตัดในแต่ละระดับความสูงของฟันเหล่านั้นไป เปรียบเทียบกับฟันจากงานวิจัยอื่นๆที่ได้รับการตีพิมพ์ออกมาก่อนหน้าที่ระดับความสูงเดียวกัน ซึ่งทำให้ การเปรียบเทียบนั้นมีความถูกต้องมากขึ้น ผลจากการศึกษาพบว่า ขนาดของฟันของตัวอย่างทั้งหมดอยู่ ในช่วงขนาดปานกลาง โดยสามารถแบ่งออกได้เป็น 2 กลุ่ม ได้แก่ ตัวอย่างที่มีลักษณะคล้ายคลึงกับ Hipparion cf. chiai ซึ่งมีลักษณะของปุ่มโปรโตโคน (Protocone) ที่เป็นรูปเลนส์ ปุ่มไฮโปรโคน (Hyprocone) มีลักษณะเป็นเหลี่ยมเล็กน้อย และลักษณะรอยหยักในวงภายในฟันไม่ซับซ้อนมากนัก นอกจากนั้นยังมีภาพหน้าตัดของฟันล่างในแต่ละช่วงทีมีการเปลี่ยนแปลงคล้ายคลึงกัน ซึ่งการกระจาย ตัวของสิ่งมีชีวิตกลุ่มนี้อยู่ในบริเวณตอนกลางของประเทศจีนและอีกหนึ่งกลุ่มได้แก่ Hipparion sp. ที่มีขนาดเล็กกว่า และมีปุ่มโปรโตโคน (Protocone) ที่มีลักษณะกลมกว่า รอยหยักในวงภายในของฟันไม่ ซับซ้อน ในฟันล่างปุ่มฟันที่มีลักษณะคล้ายเงื่อนผูกกันไว้ (double knot) มีลักษณะมนซึ่งแตกต่างจาก Hipparion ที่ค้นพบในปากีสถานและอินเดียที่ค่อนข้างเป็นเหลี่ยมที่ชัดเจน แต่คล้ายคลึงกับ Hipparion ส่วนมากที่พบในประเทศจีน สภาพแวดล้อมโบราณของบริเวณบ่อทรายนี้พบว่าเป็นพื้นที่ป่า และอายุของสิ่งมีชีวิตสกุลนี้อยู่ในช่วงสมัยไมโอซีนตอนปลายen_US
dc.language.isoenen_US
dc.publisherChulalongkorn Universityen_US
dc.rightsChulalongkorn Universityen_US
dc.subjectHorses -- Classificationen_US
dc.subjectAnimals, Fossilen_US
dc.subjectซากสัตว์ดึกดำบรรพ์en_US
dc.subjectม้า -- การจำแนกen_US
dc.titleTaxonomic Identification of Equid Fossils from the Khorat Sand pitsen_US
dc.title.alternativeการระบุชนิดทางอนุกรมวิธานของซากดึกดาบรรพ์วงศ์ม้า ที่ค้นพบจากบ่อทรายโคราชen_US
dc.typeSenior Projecten_US
dc.email.advisorkantapon.s@chula.ac.th-
Appears in Collections:Sci - Senior Projects

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Senior_project_Siriwarin Ninputsa.pdf4.22 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.