Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/64120
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสมพงษ์ ชูมาก-
dc.contributor.authorธนัชพร วงศ์สุวรรณพร-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะรัฐศาสตร์-
dc.date.accessioned2020-02-03T08:45:58Z-
dc.date.available2020-02-03T08:45:58Z-
dc.date.issued2547-
dc.identifier.isbn9741768893-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/64120-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ร.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2547en_US
dc.description.abstractวิทยานิพนธ์ฉบับนี้ มีวัตถุประสงค์ในการศึกษาบทบาทและความร่วมมือขององค์การ ระหว่างประเทศในการแก้ไขปัญหาความขัดแย้งทางชาติพันธุ์ในโคโซโว ระหว่างปี ค.ศ.1999 - 2003 การศึกษานี้ได้นำแนวความคิดความขัดแย้งทางชาติพันธุ์ และการช่วยเหลือเพื่อมนุษยธรรม เป็นกรอบในการวิเคราะห์ วิทยานิพนธ์ฉบับนี้ตั้งอยู่บนสมมติฐานที่ว่าความขัดแย้งทางชาติพันธุ์ใน โคโซโวเป็นปัญหาละเอียดอ่อนและมีผลสืบเนื่องมาจากประวัติศาสตร์อันยาวนานจึงต้องอาศัย ความร่วมมือระหว่างสหประชาชาติกับองค์การระหว่างประเทศในยุโรปในการแก้ปัญหาดังกล่าว จากการศึกษาพบว่า สหประชาชาติ, องค์การความร่วมมือเพื่อความมั่นคงในยุโรป และสหประชาชาติ มีบทบาทที่สำคัญในการแก้ไขปัญหาความขัดแย้งทางชาติพันธุ์ในโคโซโว ภารกิจนี้เป็นการดำเนินงานภายใต้มติของคณะมนตรีความมั่นคงที่ 1244 (1999) เริ่มดำเนินการ ตั้งแต่วันที่ 10 เดือนมิถุนายน ค.ศ. 1999 เป็นต้นมา มีกิจกรรมหลักในการแก้ไขปัญหาความ ขัดแย้งทางชาติพันธุ์ คือ การให้ความช่วยเหลือในยามฉุกเฉิน, การจัดระบบความมั่นคง, การสร้าง สถาบันประชาธิปไตยและรัฐบาลปกครองตนเอง, การส่งเสริมหลักสิทธิมนุษยชน, การให้ความ ช่วยเหลือและดูแลการเดินทางกลับของผู้ลี้ภัยและผู้พลัดถิ่น, ความช่วยเหลือด้านเงินทุนเพื่อฟื้นฟูบูรณะระบบสาธารณูปโภคและระบบเศรษฐกิจในโคโซโว, การจัดระบบกฎหมาย และการจัดการ เลือกตั้งท้องถิ่นเพื่อเป็นแนวทางสู่การกำหนดสถานะในอนาคตของโคโซโวในปีค.ศ. 2005 ทั้งนี้ อุปสรรคที่สำคัญในการดำเนินงานคือองค์การที่ช่วยเหลือมีโครงสร้างขนาดใหญ่และการขาดความชัดเจนในการแบ่งความรับผิดชอบทำให้เกิดความซํ้าซ้อนและความล่าช้าในการดำเนินงานen_US
dc.description.abstractalternativeThe main theme of this thesis is to study the role and the cooperation of the international organizations in solving ethnic conflicts in Kosovo during the years 1999 - 2003. The study applied the concept of ethnic conflicts and humanitarian assistance as a framework of analysis. The hypothesis which has been put forward to explain is study was that ethnic conflicts in Kosovo were a sensitive issue because of the long history of racial discrimination. The United Nations and various international organizations in Europe were, therefore, forced to join hands in solving this crisis. The study found that the United Nations, the Organization for Security and Cooperation in Europe (OSCE), and the European Union played important roles in solving the ethnic conflicts in Kosovo. The mission operated under the mandate of the Security Council’s resolution 1244 (1999). Major activities included emergency assistance, operation of security system, establishment of democratic self - government, promotion of human rights, assistance for the return of refugees and displaced persons, financial assistance to rehabilitate the infrastructures and economic systems, rule of law, and municipal elections could lead to the determination of Kosovo status in 2005. However the large scale structures of the mission and unclear work assignments of units within each organization caused the working process to be repetitive and time consuming.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectความขัดแย้งทางชาติพันธุ์ -- เซอร์เบีย -- โคโซโวen_US
dc.subjectสงครามโคโซโว, ค.ศ. 1998-1999en_US
dc.subjectองค์การระหว่างประเทศen_US
dc.subjectสหประชาชาติen_US
dc.subjectEthnic conflict -- Serbia -- Kosovoen_US
dc.subjectKosovo War, 1998-1999en_US
dc.subjectInternational organizationen_US
dc.subjectUnited Nationsen_US
dc.titleความร่วมมือขององค์การระหว่างประเทศในการแก้ไขความขัดแย้งทางชาติพันธุ์ในโคโซโว (ค.ศ. 1999-2003)en_US
dc.title.alternativeCooperation among the international organizations in solving ethnic conflicts in Kosovo (1999-2003)en_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameรัฐศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineความสัมพันธ์ระหว่างประเทศen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorไม่มีข้อมูล-
Appears in Collections:Pol - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Tanatchaporn_wo_front_p.pdfหน้าปก สารบัญ และบทคัดย่อ1.03 MBAdobe PDFView/Open
Tanatchaporn_wo_ch1_p.pdfบทที่ 11.65 MBAdobe PDFView/Open
Tanatchaporn_wo_ch2_p.pdfบทที่ 21.84 MBAdobe PDFView/Open
Tanatchaporn_wo_ch3_p.pdfบทที่ 32.5 MBAdobe PDFView/Open
Tanatchaporn_wo_ch4_p.pdfบทที่ 42.04 MBAdobe PDFView/Open
Tanatchaporn_wo_ch5_p.pdfบทที่ 5832.14 kBAdobe PDFView/Open
Tanatchaporn_wo_back_p.pdfรายการอ้างอิง และภาคผนวก2.1 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.