Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/64126
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ประเสริฐ เรียบร้อยเจริญ | - |
dc.contributor.author | เกศแก้ว สุวรรณอำไพ | - |
dc.contributor.author | พลอยไพลิน มงคลแสง | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์ | - |
dc.date.accessioned | 2020-02-04T11:40:46Z | - |
dc.date.available | 2020-02-04T11:40:46Z | - |
dc.date.issued | 2561 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/64126 | - |
dc.description | โครงงานเป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาเคมีวิศวกรรม คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีการศึกษา 2561 | en_US |
dc.description.abstract | งานวิจัยนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อศึกษาภาวะที่เหมาะสมในกระบวนการการผลิตพอลิโพรพิลีนแว็กซ์ โดยกระบวนการแตกตัวด้วยความร้อน โดยกระบวนการแตกตัวด้วยความร้อนมีอุณหภูมิเป็นปัจจัยหลักที่ทำให้พอลิเมอร์เกิดการแตกตัว แต่การใช้อุณหภูมิสูงเป็นระยะเวลานานจะทำให้เกิดการสิ้นเปลืองพลังงาน โดยทั่วไปจึงมีการใช้เปอร์ออกไซด์เป็นตัวเร่งปฏิกิริยาที่สามารถช่วยให้พอลิเมอร์สามารถแตกตัวได้ดีที่อุณหภูมิต่ำลงและลดระยะเวลาในการให้ความร้อน งานวิจัยนี้ศึกษาการผลิตพอลิโพรพิลีนแว็กซ์โดยกระบวนการแตกตัวด้วยความร้อนในปัจจัยของอุณหภูมิในการทำปฏิกิริยาในช่วง 220 ถึง 250 องศาเซลเซียส ระยะเวลาในการทำปฏิกิริยาในช่วง 15 ถึง 60 นาที ปริมาณตัวเร่งปฏิกิริยาเปอร์ออกไซด์ ในช่วงร้อยละ 2 ถึง 6 โดยน้ำหนัก และเปรียบเทียบกับกรณีที่ไม่ใส่ตัวเร่งปฏิกิริยา โดยออกแบบการทดลองเพื่อหาภาวะที่เหมาะสมให้ได้ปริมาณแว็กซ์สูงสุดและมีสมบัติที่เหมาะสม โดยสมบัติของพอลิโพรพิลีนแว็กซ์สามารถวิเคราะห์ได้โดยเครื่อง Colorimeter สำหรับการวิเคราะห์สี และเครื่อง Brookfield สำหรับการวัดค่าความหนืด โดยจะทำให้ทราบอุณหภูมิที่เหมาะสมในการแตกตัวด้วยความร้อน และนำอุณหภูมินี้ไปใช้เป็นตัวแปรควบคุมในการหาระยะเวลา และปริมาณตัวเร่งปฏิกิริยาที่เหมาะสมต่อไป ในขั้นต้นของการวิจัยผู้ทดลองพบว่าสภาวะที่เหมาะสมกับการผลิตพอลิโพรพิลีน แว็กซ์จากปริมาณพอลิโพรพิลีน 100 กรัม ได้แก่ 240 องศาเซลเซียส ใช้เวลาหลอม 45 นาที ปริมาณเปอร์ออกไซด์2%โดยน้ำหนัก, 240 องศาเซลเซียส ใช้เวลาหลอม 60 นาที ปริมาณเปอร์ออกไซด์2%โดยน้ำหนัก, 250 องศาเซลเซียส ใช้เวลาหลอม 15 นาที ปริมาณเปอร์ออกไซด์2%โดยน้ำหนัก, 250 องศาเซลเซียส ใช้เวลาหลอม 30 นาที ปริมาณเปอร์ออกไซด์2%โดยน้ำหนัก ซึ่งจะนำสภาวะดังกล่าวไปศึกษากรณีเพิ่มปริมาณพอลิโพรพิลีน 250 g เพื่อดูคุณสมบัติของพอลิโพรพิลีนแว็กซ์ต่อไป | en_US |
dc.description.abstractalternative | This research aims to study the parameters which affect to the Production polypropylene wax by thermal cracking. In thermal cracking process, temperature is the main factor that make polymer cracked. However, suppling temperature for a long time is consume too much energy. In general peroxide was used as a catalyst for making a polymer cracked at a lower temperature and decrease reaction time. This research studies about production polypropylene wax by thermal cracking process in several parameters such as reaction temperature of 220 to 250°C, reaction time of 15 to 60 minutes and catalyst loading of 2 to 6 percent by weight compares with the case of without catalyst. The design of experiment was investigated to determine the optimal condition on the highest yield of polypropylene wax and condition which suitable for molding industry. The suitable condition is analyzed by the use of Colorimeter in order to analyze color and Brookfield in order to analyze viscosity of polymer. This experiment is determined to find a suitable temperature for producing polypropylene wax by thermal cracking and this temperature is used as a control variable in determining reaction time and the appropriate amount of catalyst. From the experiment found that the appropriate condition to produce polypropylene wax from 100 grams of polypropylene plastic are the condition of 240 °C with 45 mins and 2 %wt of peroxide , 250 °C with 15 mins and 2 %wt of peroxide and the condition of 250 °C with 30 mins and 2 %wt of peroxide. So we will make an experiment about increasing of amount of polypropylene from 250 grams for learning more about the property of polypropylene wax | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.subject | โพลิโพรพิลีน | en_US |
dc.subject | แวกซ์ | en_US |
dc.subject | Polypropylene | en_US |
dc.subject | Waxes | en_US |
dc.title | การทดลองผลิตพอลิโพรพิลีนแว็กซ์โดยกระบวนการแตกตัวด้วยความร้อน | en_US |
dc.title.alternative | Production of PP wax by thermal cracking | en_US |
dc.type | Senior Project | en_US |
dc.email.advisor | Prasert.R@Chula.ac.th | - |
Appears in Collections: | Sci - Senior Projects |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Keskeaw_S_Se_2561.pdf | 789.54 kB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.