Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/64128
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ธราพงษ์ วิทิตศานต์ | - |
dc.contributor.author | อริญชัย อุดมวิทยานุกูล | - |
dc.contributor.author | ปัณยตา สุขใย | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์ | - |
dc.date.accessioned | 2020-02-05T08:08:47Z | - |
dc.date.available | 2020-02-05T08:08:47Z | - |
dc.date.issued | 2561 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/64128 | - |
dc.description | โครงงานเป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาเคมีวิศวกรรม คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีการศึกษา 2561 | en_US |
dc.description.abstract | น้ำมันไพโรไลซิสเป็นน้ำมันที่ผลิตจากชีวมวล และพลาสติก ซึ่งน้ำมันที่ผลิตได้จะมีสีเข้มหรือสีดำ ดังนั้นก่อนที่จะนำไปใช้งานจึงต้องทำการฟอกสีเพื่อกำจัดสิ่งปนเปื้อน และเม็ดสีต่าง ๆ โดยจะใช้ดินกัมมันต์ เป็นตัวดูดซับ งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาวิธีการเตรียมดินกัมมันต์จากดินเบนโทไนท์สำหรับการใช้ฟอก สีน้ำมันไพโรไลซิส โดยทำการนำเบนโทไนท์จากจังหวัดราชบุรีมาทำปฏิกิริยากระตุ้นด้วยกรดไฮโดรคลอริก และศึกษาตัวแปรต่าง ๆ ที่มีผลต่อการกระตุ้นดินกัมมันต์ เช่น อัตราส่วนโดยมวลของดินเบนโทไนท์ต่อกรด (1:1, 1:5 และ 1:10) และเวลาในการกระตุ้น (0.5, 1 และ 2 ชั่วโมง) ที่อุณหภูมิ 100 องศาเซลเซียส จากนั้น นำดินกัมมันต์ที่ได้ไปฟอกสีน้ำมันไพโรไลซิสแล้วเปรียบเทียบผลลัพธ์กับน้ำมันดีเซลมาตรฐาน และทำการ วิเคราะห์ค่าคุณสมบัติต่าง ๆ ของดินกัมมันตด์ ้วยเครื่องวิเคราะห์การเรืองรังสีเอกซ์ (XRF) และเครื่องวิเคราะห์ พื้นที่ผิว (BET) พบว่าสภาวะที่กระตุ้นเบนโทไนท์ที่ดีที่สุดคือ อัตราส่วนโดยมวล 1:1 เวลาในการกระตุ้น 1 ชั่วโมง ซึ่งให้ค่าพื้นที่ผิว 140 ตารางเมตรต่อกรัม เมื่อนำดินกัมมันต์ดังกล่าวไปทดลองฟอกสีน้ำมันไพโรไลซิส พบว่าน้ำมันที่ฟอกได้มีสีใกล้เคียงกับน้ำมันดีเซลมาตรฐาน | en_US |
dc.description.abstractalternative | Pyrolysis oil is produced from biomass and plastic waste which the produced oil will have a dark color, so the oil must be decolorized before using. Decolorization process will be used to remove contaminants and pigment in the oil by using activated clay as an adsorbent. This research studies the preparation method of activated clay from Ratchaburi bentonite by activating raw bentonite with Hydrochloric acid by varying the following parameter: weight ratio of bentonite per Hydrochloric acid (1:1, 1:5 and 1:10) and activation time (0.5, 1 and 2 hours) at temperature 100 °C. After that, use activated clay to decolorize the Pyrolysis oil and compare the result with standard diesel oil. Raw bentonite and activated clay were analyzed various properties such as XRF and BET. The results show that the best condition to activated bentonite was weight ratio 1:1 and activation time 1 hour which gives the value of surface area 140 m²/g. The Pyrolysis oil decolorization result of the best activated clay found that the color of oil is similar to the standard diesel oil. | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.subject | เบนทอไนต์ | en_US |
dc.subject | น้ำมันไพโรไลซิส | en_US |
dc.subject | Bentonite | en_US |
dc.subject | Pyrolysis oil | en_US |
dc.title | การเตรียมดินกัมมันต์จากเบนโทไนท์ราชบุรีสำหรับการฟอกจางสีน้ำมันไพโรไลซิส | en_US |
dc.title.alternative | Preparation of activated clay from Ratchaburi Bentonite for Pyrolysis oil decolorization | en_US |
dc.type | Senior Project | en_US |
dc.email.advisor | Tharapong.V@Chula.ac.th | - |
Appears in Collections: | Sci - Senior Projects |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Arinchai_U_Se_2561.pdf | 928.95 kB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.