Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/64137
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorศิริลักษณ์ พุ่มประดับ-
dc.contributor.authorปุญญิศา ชัยศรี-
dc.contributor.authorพิมพิกา รัตนอาภรณ์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์-
dc.date.accessioned2020-02-07T08:40:20Z-
dc.date.available2020-02-07T08:40:20Z-
dc.date.issued2561-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/64137-
dc.descriptionโครงงานเป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาเคมีวิศวกรรม คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีการศึกษา 2561en_US
dc.description.abstractแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ถือเป็นแก๊สเรือนกระจกที่สำคัญซึ่งมีปริมาณเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่องจากการเผาไหม้เชื้อเพลิงฟอสซิล การปลดปล่อยจากโรงงานอุตสาหกรรม และจากกิจกรรมต่าง ๆ ของมนุษย์ เพื่อลดปริมาณแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ในบรรยากาศงานวิจัยนี้ได้พัฒนาวัสดุดูดซับแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์จากน้ำยางธรรมชาติดัดแปรด้วยไดแอลลิลเอมีน (Diallylamine) โครงสร้างทางเคมีของยางธรรมชาติดัดแปรถูกวิเคราะห์โดยเครื่องฟูเรียร์ทรานสฟอร์มอินฟราเรดสเปคโตรมิเตอร์ จากนั้นนำยางธรรมชาติดัดแปรไปขึ้นรูปให้เป็นโฟมยาง เพื่อปรับปรุงความจุการดูดซับแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ของยางธรรมชาติดัดแปร ซิลิกา (Silica) ถูกเติมลงในยางธรรมชาติดัดแปรเพื่อเพิ่มพื้นที่ผิวในการดักจับแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ สำหรับการดัดแปรพื้นผิวของอนุภาคซิลิกา ทำโดยการเติมตัวประสานประเภทไซเลน (Silane coupling agent) เพื่อทำให้การกระจายตัวของอนุภาคซิลิกาในยางธรรมชาติดัดแปรดีขึ้น รวมถึงเติมเตตระเอทิลีนเพนตามีน (Tetraethylenepentamine) เพื่อเพิ่มความจุการดูดซับแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ด้วยหมู่เอมีน ความจุการดูดซับแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ของโฟมยางถูกทดสอบภายใต้ความดันบรรยากาศ ยางธรรมชาติดัดแปรที่ผสมซิลิกาอิ่มตัวด้วยเตตระเอทิลีนเพนตามีน มีค่าความจุสูงสุด 3.59 มิลลิกรัมต่อกรัม ที่อุณหภูมิ 35 องศาเซลเซียสen_US
dc.description.abstractalternativeCarbon dioxide (CO₂) is one of the greenhouse gas that increases continuously from burning fossil fuels, production process in industrial plant and human activities. To reduce carbon dioxide in atmosphere, this research therefore was developed a carbon dioxide adsorption material from natural rubber (NR) latex modified by a diallylamine. Fourier transform infrared (FTIR) spectroscopy spectra could identify the chemical structure of modified natural rubber (MNR). Then, the modified natural rubber was formed into a rubber foam. To improve the carbon dioxide adsorption capacity of MNR, the silica particles were added in MNR vulcanizate to increase the surface area in carbon dioxide capture. For the surface modification of silica particles, silane coupling agent was added to improve the dispersion of the silica particles in MNR and tetraethylenepentamine also added to improve the carbon dioxide adsorption capacity by amine group. The carbon dioxide adsorption capacity of rubber foam was tested under atmospheric pressure. The modified natural rubber with silica impregnated with tetraethylenepentamine has a maximum capacity of 3.59 mg/g at 35 degree Celsius.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectยางen_US
dc.subjectก๊าซ -- การดูดซึมและการดูดซับen_US
dc.subjectคาร์บอนไดออกไซด์ -- การดูดซึมและการดูดซับen_US
dc.subjectRubberen_US
dc.subjectGases -- Absorption and adsorptionen_US
dc.subjectCarbon dioxide -- Absorption and adsorptionen_US
dc.titleวัสดุดูดซับแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์จากคอมพอสิตยางธรรมชาติดัดแปรen_US
dc.title.alternativeCO₂ adsorption material from modified natural rubber compositesen_US
dc.typeSenior Projecten_US
dc.email.advisorSirilux.P@Chula.ac.th-
Appears in Collections:Sci - Senior Projects

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Punyisa_C_Se_2561.pdf1.5 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.