Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/64158
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | บัณฑิต เอื้ออาภรณ์ | - |
dc.contributor.author | กันติ์ สมบัติวิไลเลิศ | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์ | - |
dc.date.accessioned | 2020-02-12T07:00:38Z | - |
dc.date.available | 2020-02-12T07:00:38Z | - |
dc.date.issued | 2543 | - |
dc.identifier.isbn | 9743473068 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/64158 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2543 | - |
dc.description.abstract | การแข่งขันในอุตสาหกรรมไฟฟ้าภายหลังการแปรรูปกำลังเข้ามาแทนที่การประกอบกิจกรรมแบบดั้งเดิม ดังนั้นผู้ปฏิบัติงานจำเป็นต้องจัดการปัญหาที่ไม่คุ้นเคยเนื่องจากสภาพแวดล้อมใหม่ เช่น การประเมินค่าความลามารถในการส่งผ่านกำลังไฟฟ้าสูงสุดจากบริเวณหนึ่งไปยังอีกบริเวณหนึ่ง (ค่ากำลังส่งรวม) และค่าการส่งผ่านกำลังไฟฟ้าที่ยังสามารถส่งผ่านระบบส่ง ณ สภาวะปัจจุบัน (ค่าความสามารถถ่ายโอนกำลังไฟฟ้า) โดยทั่วไปศูนย์ควบคุมอิสระจะทำหน้าที่ไนการกำหนดค่ากำลังส่งรวมและค่าความสามารถถ่ายโอนกำลังไฟฟ้าระหว่างคู่ผู้ซื้อกับผู้ขาย จากนั้นจะต้องประกาศค่าดังกล่าวให้ผู้มีส่วนร่วมในตลาดทราบทุกๆ 1 ชั่วโมง หรือ 1 วัน เป็นต้น อย่างไรก็ดี วัตถุประสงค์หลักของวิทยานิพนธ์นี้คือการกำหนดค่าความสามารถถ่ายโอนกำลังไฟฟ้าสำหรับสภาวะตลาดในอนาคต โดยข้อจำกัดของระบบที่เลือกมาพิจารณาในที่นี้คือ เงื่อนไขพิกัดสายส่ง เงื่อนไขพิกัดขนาดแรงดัน และ เงื่อนไขพิกัดกำลังการผลิต ซึ่งเงื่อนไขทั้งหมดจะถูกพิจารณาทั้งในกรณีที่ระบบอยู่ในสภาวะปกติและสภาวะที่เกิดเหตุขัดข้องขึ้น เนื่องจากการกำหนดค่าความสามารถถ่ายโอนกำลังไฟฟ้าต้องการวิธีการคำนวณที่เชื่อถือ ได้และให้ผลตอบไนเวลาอันรวดเร็ว ดังนั้นวิทยานิพนธ์นี้จึงได้พัฒนาวิธีการคำนวณค่าความ สามารถถ่ายโอนกำลังไฟฟ้าไว้สามวิธี ประกอบด้วยวิธีคำนวณที่อาศัยการคำนวณเพาเวอร์โฟลว์ เป็นพื้นฐาน วิธีคำนวณแบบเชิงเส้นซํ้า และวิธีคำนวณแบบเชิงเส้นที่มีการแก้ไขคำตอบให้ถูกต้องด้วยเพาเวอร์โฟลว์ที่มีการปรับปรุง วิธีการที่เสนอขึ้นทั้งหมดได้ใช้ทดสอบกับระบบไฟฟ้ากำลังเขตภาคเหนือของไทย จากผลการคำนวณที่ได้แสดงให้เห็นว่า สองจากสามวิธีที่เสนอดังกล่าวสามารถใช้เป็นทางเลือกใหม่ในการกำหนดค่าความสามารถถ่ายโอนกำลังไฟฟ้าสำหรับระบบไฟฟ้ากำลังของไทย | - |
dc.description.abstractalternative | Competition in electric supply industry after deregulation is replacing traditional activities. Operators have to deal with several unfamiliar problems under this new operating environment, e.g. the maximum transmission capability to deliver power from one area to the other (Total Transfer Capability- TTC), and the available power which can be transferred over a transmission system relative to current operation level (Available Transfer Capability - ATC). Normally, an independent system operator (ISO) determines TTC and ATC values between a selected pair of transaction and posts these values for participants on an hourly or a daily basis. However, this thesis concentrates mainly on an off-line ATC determination. Therefore, thermal, voltage and generation limits are considered in these algorithms in both normal and n-1 contingency conditions. Since it requires reliable computation with fairly short computation time, three approaches have been developed for determining ATC consisting of the power flow base method, the iterative linear method, and the linear method using modified power flow for correcting the solution. The proposed methods have been tested with the northern Thailand power system. The obtained results demonstrate that two out of three proposed methods can be used for solving ATC determination for Thailand power system. | - |
dc.language.iso | th | - |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | - |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | - |
dc.subject | ระบบไฟฟ้ากำลัง -- การควบคุม | - |
dc.subject | อุตสาหกรรมพลังงานไฟฟ้า -- ไทย | - |
dc.subject | การส่งกำลังไฟฟ้า | - |
dc.title | การกำหนดค่าความสามารถถ่ายโอนกำลังไฟฟ้า | - |
dc.title.alternative | Determination of available transfer capability | - |
dc.type | Thesis | - |
dc.degree.name | วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต | - |
dc.degree.level | ปริญญาโท | - |
dc.degree.discipline | วิศวกรรมไฟฟ้า | - |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | - |
Appears in Collections: | Eng - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Gunti_so_front_p.pdf | หน้าปก สารบัญ และบทคัดย่อ | 815.76 kB | Adobe PDF | View/Open |
Gunti_so_ch1_p.pdf | บทที่ 1 | 680.53 kB | Adobe PDF | View/Open |
Gunti_so_ch2_p.pdf | บทที่ 2 | 784.22 kB | Adobe PDF | View/Open |
Gunti_so_ch3_p.pdf | บทที่ 3 | 1.39 MB | Adobe PDF | View/Open |
Gunti_so_ch4_p.pdf | บทที่ 4 | 1.14 MB | Adobe PDF | View/Open |
Gunti_so_ch5_p.pdf | บทที่ 5 | 929.31 kB | Adobe PDF | View/Open |
Gunti_so_ch6_p.pdf | บทที่ 6 | 963.03 kB | Adobe PDF | View/Open |
Gunti_so_ch7_p.pdf | บทที่ 7 | 644.73 kB | Adobe PDF | View/Open |
Gunti_so_back_p.pdf | รายการอ้างอิง และภาคผนวก | 1.83 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.