Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/64169
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสาริศา สุริยรักษ์-
dc.contributor.authorกรรวี อังศุธรรังสี-
dc.contributor.authorอรวิภา เมฆอัมพร-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์-
dc.date.accessioned2020-02-15T14:57:15Z-
dc.date.available2020-02-15T14:57:15Z-
dc.date.issued2561-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/64169-
dc.descriptionโครงงานเป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีทางอาหาร คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีการศึกษา 2561en_US
dc.description.abstractเพคทินเป็นสารประเภทพอลีแซคคาไรด์ มีหน่วยย่อย คือ กรดกาแล็กทูโรนิก โดยเพคทินนิยมนำมาใช้เป็นสารเพิ่มความหนืด สารเพิ่มความคงตัว สารก่อเจล ใช้ในอาหาร เช่น แยม เยลลี่ กระเจี๊ยบแดงจัดเป็นพืชที่มีสารประกอบเพคตินสูง มีราคาถูก อีกทั้งยังสามารถหาได้ง่าย แต่กลับมีผู้ศึกษาการสกัดเพคทินจากกระเจี๊ยบแดงไม่มากนัก การทดลองนี้จึงมีจุดประสงค์เพื่อศึกษาการสกัดเพคทินจากกระเจี๊ยบแดง โดยศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อการสกัดในด้านสมบัติทางเคมีและสมบัติทางกายภาพของเพคทินที่ได้จากการสกัด โดยในการทดลองนี้ได้ทำการสกัดโดยใช้ตัวทำละลายสองชนิดคือ กรดไฮโดรคลอริก และ น้ำกลั่น โดยอุณหภูมิที่ใช้สกัด คือ 30 60 และ 90 องศาเซลเซียส และเวลาที่ใช้ในการสกัด คือ 30 120 และ 240 นาที โดยจากการสกัดเพคทินด้วยกรดไฮโดรคลอริกและน้ำกลั่น พบว่าสภาวะที่ทำให้สกัดได้ปริมาณเพคทินออกมามากที่สุด คือ การสกัดด้วยกรดไฮโดรคลอริกที่อุณหภูมิ 90 องศา เป็นเวลา 240 นาที โดยได้เพคทินออกมาปริมาณร้อยละ 21.85 ± 0.87 และการสกัดด้วยน้ำกลั่นที่อุณหภูมิและเวลาเดียวกันได้เพคทินออกมาปริมาณร้อยละ 19.91 ± 0.70 ส่วนสภาวะที่ทาให้สกัดได้ปริมาณเพคทินออกมาน้อยที่สุด คือ การสกัดด้วยกรดไฮโดรคลอริกที่อุณหภูมิ 30 องศา เป็นเวลา 30 นาที โดยได้เพคทินออกมาปริมาณร้อยละ 2.52 ± 0.10 และการสกัดด้วยน้ำกลั่นที่อุณหภูมิและเวลาเดียวกันได้เพคทินออกมาปริมาณร้อยละ 1.05 ± 0.35 จากผลการทดลองพบว่าทั้ง 3 ปัจจัย คือ ชนิดของตัวทำละลาย อุณหภูมิ และเวลานั้นมีผลต่อปริมาณเพคทินที่ได้จากการสกัดอย่างมีนัยสำคัญ (P<0.05) และจากการวัดค่าสีค่าความสว่าง (L*), ค่าสีแดง (a*), ค่าสีเหลือง (b*) พบว่าค่าความสว่าง (L*) มีค่าอยู่ในช่วงระหว่าง 21.19 – 43.19 โดยพบว่ามีการเปลี่ยนแปลงอย่างมีนัยสำคัญ (P<0.05) เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิและเวลา ค่าสีแดง (a*) มีค่าอยู่ในช่วงระหว่าง 10.67 – 30.55 โดยพบว่ามีการเปลี่ยนแปลงอย่างมีนัยสำคัญ (P<0.05) เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงชนิดตัวทำละลาย อุณหภูมิและเวลา และค่าสีเหลือง (b*) มีค่าอยู่ในช่วงระหว่าง -1 – 13.08 และพบว่าไม่มีการเปลี่ยนแปลงอย่างมีนัยสำคัญเมื่อมีการเปลี่ยนแปลงชนิดตัวทำละลาย อุณหภูมิและเวลา จากการวัดปริมาณความชื้นพบว่าในการวัดปริมาณความชื้นเพคทินที่สกัดได้มีค่าความชื้นอยู่ในช่วงร้อยละ 7.52 – 12.27 ซึ่งซึ่งมีค่าใกล้เคียงกับเพคทินทางการค้าen_US
dc.description.abstractalternativePectin is a structural polysaccharide which has galacturonic acid as a monomer. Pectin is used as a thickening agent, stabilizer, gelling agent in food such as yam and Jelly. Rosellle is a typical plant in Thailand. Even that roselle contains high amount of pectins and is economical, research papers about roselle as a potential source of pectin are not found much. Thus, this research aimed to study pectin extraction from roselle and to study chemical and physical characteristics of the pectin. In this research, two type of solvent was used which were hydrochloric solution and distilled water with extraction temperature of 30, 60 and 90 ºC and with extraction time of 30, 120 and 240 minutes. The highest production yield of pectin (21.85 ± 0.87) was obtained at temperature of 90 ºC, extraction time of 240 minutes, using Hydrochloric as solvent. The highest production yield of pectin extracted using distilled water (19.91 ± 0.70) is the same condition as hydrochloric. The lowest production yield of pectin (1.05 ± 0.35) was obtained at temperature of 30 ºC, extraction time of 30 minutes, using distilled water as solvent. The highest production yield of pectin extracted using hydrochloric (2.52 ± 0.10) is the same condition as distilled water. The three factors of the experiment which are type of solvent, temperature, extraction time significantly (P<0.05) affected pectin extraction. From L*a*b* color measurement, it was found that L* value is between 21.19 – 43.19 which significantly (p<0.05) affect by temperature and extraction time. A* value was between 10.67 – 30.55 which was significantly (p<0.05) affected by type of solvent, temperature and extraction time. B* value is between -1 – 13.08 and did not show signficant. Moisture content of pectin was between 7.52 – 12.27 which is close to commercial pectin.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectเพกตินen_US
dc.subjectกระเจี๊ยบen_US
dc.subjectกรดไฮโดรคลอริกen_US
dc.subjectPectinen_US
dc.subjectRoselleen_US
dc.subjectHydrochloric aciden_US
dc.titleการศึกษาการสกัดเพคทินจากกระเจี๊ยบแดงโดยใช้เทคนิคการสกัดด้วยตัวทำละลายen_US
dc.title.alternativeA study of pectin extraction from roselle (Hibiscus sabdariffa) using solvent extractionen_US
dc.typeSenior Projecten_US
dc.email.advisorsarisa.s@chula.ac.th-
Appears in Collections:Sci - Senior Projects

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Kornrawee_A_Se_2561.pdf1.22 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.