Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/64173
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorธนิต ธงทอง-
dc.contributor.advisorวิสุทธิ์ ช่อวิเชียร-
dc.contributor.authorจิรพงศ์ อนันต์สุทธิวรา-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์-
dc.date.accessioned2020-02-17T04:16:02Z-
dc.date.available2020-02-17T04:16:02Z-
dc.date.issued2543-
dc.identifier.isbn9741304137-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/64173-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2543-
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีชุดมุ่งหมายเพื่อศึกษาแนวทางในการปรับปรุงดัชนีราคาวัสดุก่อสร้าง โดยเน้นศึกษาและเสนอแนวทางในการคัดเลือกตัวแทนวัสดุ และการกำหนดนำหนักถ่วง ซึ่งเป็นองศ์ประกอบสำคัญในการคำนวณดัชนีราคาวัสดุก่อสร้าง โดยแนวทางการคัดเลือกตัวแทนวัสดุได้ทำการศึกษา 2 วิธี คือ วิธีการใช้บัญชีปริมาณงาน และวิธีการใช้แบบสัมภาษณ์ และการกำหนดน้ำหนักถ่วงได้ทำการศึกษา 3 วิธี คือ วิธีการใช้บัญชีปริมาณงาน วิธีการใช้ข้อมูลปริมาณความต้องการภายในประเทศ และวิธีการใช้ตารางปัจจัยการผลิตและผลผลิต ซึ่งในการวิจัย ครั้งนี้ได้ใช้ข้อมูลต่าง ๆ จากกรมการค้าภายใน สำนักมาตรฐานงบประมาณ กรมโยธาธิการ การเคหะแห่งชาติ ธนาคารแห่งประเทศไทย และกระทรวงอุตสาหกรรม รวมทั้งไต้รับความร่วมมือในการตอบแบบสัมภาษณ์จากเจ้าหน้าที่ทั้งหน่วยงานรัฐ รัฐวิสาหกิจ และบริษัทเอกชน จำนวนทั้งสิ้น 18 ชุด ผลการศึกษาแนวทางการคัดเลือกตัวแทนวัสดุ สามารถสรุปตัวแทนวัสดุเบื้องต้นได้จากทั้ง 2 วิธี และเมื่อนำมาวิเคราะห์เปรียบเทียบกับตัวแทนวัสดุที่ใช้ในปัจจุบัน พบว่าตัวแทนวัสดุที่ไต้จากผลการวิจัยเป็นรายการวัสดุที่มีความสำคัญเป็นหลักในแต่ละหมวด และมีจำนวนน้อยกว่าตัวแทนวัสดุที่ใช้ในปัจจุบัน แต่ผลการศึกษาแนวทาง การกำหนดนำหนักถ่วง สามารถสรุปน้ำหนักถ่วงของตัวแทนวัสดุได้จากวิธีการใช้บัญชีปริมาณงานเท่านั้น วิธีการ ใช้ข้อมูลความต้องการภายในประเทศ และวิธีการใช้ตารางปัจจัยการผลิตและผลผลิตไม่สามารถสรุปนํ้าหนักถ่วงของแต่ละตัวแทนวัสดุได้ เนื่องจากข้อมูลที่ใช้ในการทำวิจัยไม่สามารถหาได้เพียงพอต่อการนำมากำหนดน้ำหนักถ่วงของตัวแทนวัสดุ และเมื่อนำผลการวิจัยมาวิเคราะห์เปรียบเทียบกับนํ้าหนักถ่วงของตัวแทนวัสดุปัจจุบัน มีเพียงน้ำหนักถ่วงของแต่ละหมวดวัสดุในวิธีการใช้บัญชีปริมาณงานเท่านั้นที่สามารถนำมาเปรียบเทียบไต้ แต่อย่างไรก็ตามการวิจัยครั้งนี้ได้เสนอขั้นตอนการจัดทำของแต่ละวิธีไว้อย่างละเอียด รวมทั้งคำนวณตัวอย่างดัชนีราคาวัสดุ ก่อสร้างไว้เพื่อให้สามารถนำขั้นตอนเหล่านี้ไปเป็นแนวทางในการประยุกต์ใช้งานได้จริง-
dc.description.abstractalternativeThe objective of this research is to improve the method of material price index construction currently used in Thailand. Two main issues are addressed : the selection of construction material representatives and the weighting method. For the selection of construction material representatives, two approaches are employed : a) the selection derived from bills of quantities of construction projects, and b) the selection derived from interviewing construction experts. For the weighting methods, three approaches are studied : a) the method using the bills of quantities of construction projects, b) the method using the national demand on construction materials, and c) the method using the data from Input-Output Table. The data are collected from the Department of Internal Trade, the Bureau of the Budget, the Public Works Department, the National Housing Authority, the Bank of Thailand, the Ministry of Industry and 18 interviews of construction experts from the government and private organizations. It was found that both approaches of the selection of construction material representatives show fewer numbers of important materials in each category when compared with the currently used representatives. For the weighting methods, only the approach employing the use of the bills of quantities clarifies the preliminary weights of material representatives. The other two approaches do not yield satisfactory weighting results due to insufficient relevant data. The study presents the advantages, disadvantages, required information and necessary processes for each approach and illustrates a realistic generation of construction price index.-
dc.language.isoth-
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.subjectดัชนีราคา-
dc.subjectวัสดุและอุปกรณ์ก่อสร้าง -- ราคา-
dc.titleการศึกษาแนวทางการปรับปรุงวิธีเลือกตัวแทนวัสดุ และวิธีการคำนวณน้ำหนักในการจัดทำดัชนีราคาวัสดุก่อสร้าง-
dc.title.alternativeA study on an improvement of material representatives selection and weighting methods for construction material price index-
dc.typeThesis-
dc.degree.nameวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต-
dc.degree.levelปริญญาโท-
dc.degree.disciplineวิศวกรรมโยธา-
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Jirapong_an_front_p.pdfหน้าปก สารบัญ และบทคัดย่อ841.22 kBAdobe PDFView/Open
Jirapong_an_ch1_p.pdfบทที่ 1708.5 kBAdobe PDFView/Open
Jirapong_an_ch2_p.pdfบทที่ 21.04 MBAdobe PDFView/Open
Jirapong_an_ch3_p.pdfบทที่ 3891.31 kBAdobe PDFView/Open
Jirapong_an_ch4_p.pdfบทที่ 41.11 MBAdobe PDFView/Open
Jirapong_an_ch5_p.pdfบทที่ 51.07 MBAdobe PDFView/Open
Jirapong_an_ch6_p.pdfบทที่ 6680.89 kBAdobe PDFView/Open
Jirapong_an_back_p.pdfรายการอ้างอิง และภาคผนวก3.47 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.