Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/64180
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorมนตรี ชูวงษ์-
dc.contributor.advisorสุเมธ พันธุวงค์ราช-
dc.contributor.authorธารารัตน์ ทวีกุล-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์-
dc.date.accessioned2020-02-17T08:55:52Z-
dc.date.available2020-02-17T08:55:52Z-
dc.date.issued2561-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/64180-
dc.descriptionโครงงานเป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาธรณีวิทยา. คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีการศึกษา 2561en_US
dc.description.abstractงานวิจัยนี้ศึกษาเกี่ยวกับลักษณะเฉพาะของการสะสมตัวของตะกอนจากพายุโซนร้อนปาบึกในพื้นที่กุยบุรี จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ อย่างที่เราทราบมาว่า เหตุการณ์พายุโซนร้อนปาบึกที่พัดเข้าประเทศไทยในช่วงวันที่ 3-5 มกราคม 2562 ก็ทำให้หลายจังหวัดทางภาคใต้ของประเทศไทยได้รับผลกระทบ โดยเฉพาะจังหวัดที่มีชายฝั่งติดอ่าวไทยฝั่งตะวันตกทั้งหมด ตั้งแต่จังหวัดราชบุรีไปจนถึงจังหวัดนราธิวาส โดยเราให้ความสนใจที่พื้นที่กุยบุรี จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ เพราะเป็นพื้นที่ที่ถึงแม้จะอยู่บริเวณรัศมีรอบนอกของพายุปาบึก แต่ก็สามารถเห็นผลกระทบบริเวณชายฝั่งได้อย่างชัดเจน และพื้นที่ที่สนใจไม่ได้อยู่ใกล้แหล่งชุมชนมากนัก ตะกอนที่ถูกพัดขึ้นมาสะสมตัวจากพายุปาบึกจึงไม่ได้รับผลกระทบจากการพื้นฟูความเสียหายจากพายุ ทำให้เราจะยังสามารถสังเกตเห็นรูปแบบลักษณะเฉพาะของการสะสมตัวของตะกอนจากพายุโซนร้อนปาบึก ในพื้นที่กุยบุรี จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ โดยการที่เราจะศึกษาข้อมูลงานวิจัยเก่า และออกภาคสนามทำการเก็บตัวอย่างตะกอนที่เกิดจากพายุปาบึกพัดขึ้นมาบนชายฝั่ง จากนั้น นำตัวอย่างตะกอนที่ได้จากภาคสนามมาทำการวิเคราะห์ข้อมูลของขนาดของตะกอนด้วยวิธีคัดแยกตะกอนด้วยตะแกรง (Sieve Analysis) และทำการวิเคราะห์ข้อมูลขององค์ประกอบของตะกอนด้วยกล้องจุลทรรศน์แบบใช้แสงชนิดสเตอริโอ (Stereo microscope) จากผลการวิเคราะห์ พบว่า ตะกอนที่พายุปาบึกพัดมาสะสมบนชายฝั่งบริเวณนี้จะมีขนาดของตะกอนโดยเฉลี่ยใหญ่กว่าตะกอนเดิมของพื้นที่ และมีปริมาณของเศษตะกอนจากเปลือกหอยมากกว่าตะกอนเดิมที่มีปริมาณเศษตะกอนจากซากพืช โดยเฉพาะรากไม้มากกว่า จึงทำให้ตะกอนจากพายุปาบึกมีสีขาวออกเทา ในขณะที่ตะกอนเดิมจะมีสีน้ำตาลออกเหลือง จึงทำให้แยกความแตกต่างระหว่างตะกอนพายุและตะกอนเดิมได้โดยตาเปล่าค่อนข้างชัดเจนen_US
dc.description.abstractalternativeThis project study is about the characteristics of the Pabuk tropical storm deposit in Kui Buri Area, Prachuap Khiri Khan Province. From all we knew that in 3rd-5th January, 2019 the Pabuk tropical storm which went through the Southern of Thailand had made so much damage all over the area, especially all the western coast of the gulf of Thailand. Because of outside directly affected area from the Pabuk tropical storm, but the effect from the storm could still observe in the area. And the distance from the human communities to the area is so far that the living things could not damage the sediment in the area. For all the reasons are made the Kui Buri Area, Prachuap Khiri Khan Province to be our study area. First, we studied the old researches about storm deposit. Then we went out to collect the sediment in the study area. After that, we analyzed all the sediment, by sieve analysis for grain size analysis and observed through the stereo microscope for grain composition analysis. From analyzed results, they showed that the storm sediment grain is a bit bigger than the original soil grain and the storm sediment had been found the fractured shell more than the original soil which had been found the fractured of plant more than the storm sediment. So the storm sediment is greyish white and the original soil is yellowish brown. Then we could observe how different between the storm sediment and the original soil based on the color, too.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.titleลักษณะเฉพาะของการสะสมตัวของตะกอนจากพายุโซนร้อนปาบึกในพื้นที่กุยบุรี จังหวัดประจวบคีรีขันธ์en_US
dc.title.alternativeCharacteristics of the Pabuk tropical storm deposit in Kui Buri area, Prachuap Khiri Khan provinceen_US
dc.typeSenior Projecten_US
dc.email.advisorMontri.C@Chula.ac.th-
dc.email.advisorSumet.P@chula.ac.th-
Appears in Collections:Sci - Senior Projects

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Thararat_T_Se_2561.pdf1.04 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.